* การร่างสัญญาระหว่างประเทศและข้อกำหนดในสัญญาเพื่อลดความเสี่ยงทางภาษี * การร่างสัญญาบริการ (Service Agreement) สัญญาให้บริการทางเทคนิค (Technical Service Agreement) * กลยุทธ์การร่างสัญญาเพื่อป้องกันปัญหา “ราคาโอนที่เกี่ยวกับค่าสิทธิค่าบริการ” วิทยากรโดย อาจารย์อารียา อนันตวรลักษณ์หัวข้อสัมมนา 1. การร่างสัญญาระหว่างประเทศและข้อกำหนดในสัญญาเพื่อลดความเสี่ยงทางภาษี “การประกอบกิจการในประเทศไทย ตามมาตรา 76 ทวิและการเกิด"สถานประกอบการ"ตามอนุสัญญาภาษีซ้อน - ชื่อของสัญญา - สถานที่ทำสัญญา - สถานที่ส่งมอบสินค้า - การเลือกวิธีการชำระเงิน - ข้อสัญญาเกี่ยวกับ “ความสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา” 2. การใช้สิทธิประโยชน์ตาม DTA 3. การร่างสัญญาบริการ (Service Agreement) สัญญาให้บริการทางเทคนิค (Technical Service Agreement) - การส่งพนักงานต่างชาติเข้ามาปฎิบัติงานตามสัญญา 4. ร่างสัญญารับทำงานแทนหรือรับจ้างช่วงระหว่างประเทศ (Subcontractor Agreement) 5. ทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างประเทศอย่างไรจึงปลอดภัยจากภาษี 6. การร่างสัญญาธุรกิจเพื่อลดปัญหา “ค่าสิทธิ” - ข้อความอันตรายในสัญญาที่มีความเสี่ยงถือเป็นค่าสิทธิ (Dangerous Clause) - Update คำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับภาษีค่าสิทธิ (Royalty) - ข้อตกลงจำกัดสิทธิภายใต้สัญญาให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับ “ระยะเวลา” และ “พื้นที่” กับผลกระทบต่อภาระภาษีหัก ณ ที่จ่าย - สัญญาให้บริการที่มีค่าสิทธิรวมอยู่ด้วย ควรบริหารความเสี่ยงประเด็น Royalty อย่างไร - การร่างสัญญาให้ปลอดภัยทั้งภาษี ค่าสิทธิและการตรวจสอบราคาโอน (Transfer Pricing) - การทำสัญญาไอที ซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์สื่อสาร เพื่อลดความเสี่ยงเรื่องค่าสิทธิ 7. กลยุทธ์การร่างสัญญาเพื่อป้องกันปัญหา “ราคาโอนที่เกี่ยวกับค่าสิทธิค่าบริการ” - จุดที่ต้องระวังในการทำสัญญา - การรักษาความลับ - ค่าตอบแทนตามสัญญา 8. การร่างสัญญาการจ้างพนักงาน/ผู้บริหารชาวต่างชาติ (Expatriate Employment Contract) ให้ปลอดภาระภาษีแก่ชาวต่างชาติ บริษัทนายจ้าง และผู้ติดตามชาวต่างชาติ เช่น คู่สมรส บุตรฯลฯ - เขียนสัญญาอย่างไรให้นายจ้างไทยนำมาลงเป็นรายจ่ายได้ - ประเด็นภาษีจากการทำสัญญาจ้างงานในรูปแบบ Secondment Agreement และ Dual Employment Contract 9.กลยุทธ์การร่างสัญญาระหว่างประเทศที่พึงระวังในประเด็น “ราคาโอน” (Transfer Pricing Risk) ที่สรรพากรจะตรวจสอบ - ระวัง!!! การร่างสัญญาในมุมมองราคาโอน เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกกล่าวหาว่า “หลีกเลี่ยงภาษี” หรือ “มีเจตนาลวง” หรือไม่มีวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ - การแสดงเจตนาในการทำสัญญา (Witness) ต่อการพิจารณาประเด็นทางภาษีการตรวจสอบราคาโอน (Transfer Pricing) - การจัดเตรียม “สัญญา/เอกสารวิเคราะห์การกำหนดราคาโอน” (Transfer Pricing Documents) เพื่อรับมือการตรวจสอบภาษีสรรพากร - ประเด็นที่เจ้าหน้าที่สรรพากรมักตรวจสอบ “สัญญาธุรกิจ” เพื่อค้นหาความผิดปกติเกี่ยวกับ “ราคาโอน - การตรวจสอบราคาตลาดของสรรพากรจากการทำสัญญาขาย/ให้บริการ 10. สิ่งที่ต้องระวังในการร่างสัญญาที่สรรพกรจะตรวจสอบ - ปัญหาภาษีเกี่ยวกับ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ หรือ ค่าเสียหาย จากการไม่ปฏิบัติตามสัญญา (Breach of Contract) - ร่างสัญญาซื้อขายหรือให้บริการระหว่างประเทศอย่างไร ไม่ให้ถือเป็นดอกเบี้ยในกรณีผิดสัญญา - ธุรกรรมการซื้อขายที่ผู้ขายให้สินเชื่อทางการค้า (Trade Credit) - เบี้ยปรับจากการชำระราคาสินค้าหรือบริการล่าช้า (Penalty for Late Payment) - ภาระ “อากรแสตมป์” ที่เกี่ยวข้องกับสัญญาที่ไม่มีรูปร่าง - “ภาระภาษีออกแทน” ตามสัญญาระหว่างประเทศ - ประเด็นอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ - แนวคำวินิจฉัยที่สำคัญ 11. การวางแผนลดความเสี่ยงภาษีสรรพากรทั้งระบบจากการทำสัญญาระหว่างประเทศ - ภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีซ้อน - ราคาโอน Transfer Pricing - อากรแสตมป์ 12. กรณีศึกษาใช้สัญญา (Choice of Contract) เพื่อประหยัดภาษีสูงสุด - สัญญาตัวแทนทางการค้า (Commercial Agency Agreement) หรือสัญญาผู้แทนจำหน่าย (Distributorship Agreement) 13. Case Studie การทำสัญญาที่สรรพากรจะตรวจสอบและแนวทางป้องกัน14. เทคนิคการเขียนสัญญาอย่างไรไม่ให้เสียเปรียบทางธุรกิจและไม่ถูกสรรพากรประเมิน
รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4 (เดิน 300 เมตร)