การบัญชีสินค้าคงเหลือ และที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ รวมถึงการปิดบัญชีสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน BOI (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/02237Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร




การบัญชีสินค้าคงเหลือ และที่ดิน อาคาร อุปกรณ์

รวมถึงการปิดบัญชีสำหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่น ๆ 3 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่น ๆ 3 ชม.

 

  • สิทธิประโยชน์และเงื่อนไขในบัตรส่งเสริมการลงทุน การวางระบบบัญชี BOI และ NON-BOI
  • หลักเกณฑ์การรับรู้รายได้สำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
  • การปรับปรุงรายการบัญชีก่อนการปิดบัญชี และการตรวจสอบความถูกต้องของรายการทางบัญชีก่อนปิดบัญชี

วิทยากรโดย ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

หัวข้อสัมมนา

1. สิทธิประโยชน์และเงื่อนไขในบัตรส่งเสริมการลงทุนที่นักบัญชีต้องศึกษาและทำความเข้าใจ
   - สิทธิประโยชน์ในบัตรส่งเสริม
   - เงื่อนไขในบัตรส่งเสริม

2. การวางระบบบัญชีให้เหมาะสมกับกิจการ BOI และ NON-BOI
   - ลักษณะของการวางระบบบัญชีที่ดี
   - ลักษณะและส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบัญชี

3. ประเภทเอกสารที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญชีสำหรับกิจการ BOI และ NON-BOI
   - โดยบุคคลภายนอก
   - ออกให้แก่บุคคลภายนอก
   - เพื่อใช้ในกิจการ

4. แนวปฏิบัติให้สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (สินทรัพย์ถาวร) สำหรับกิจการ BOI รวมทั้งกิจการที่มีทั้ง BOI และ NON-BOI
   - การรับรู้รายการสินทรัพย์ถาวร
   - การกำหนดรหัสสินทรัพย์ถาวร (ID Assets)
   - การกำหนดอายุการใช้งานและมูลค่าคงเหลือ
   - การคำนวณค่าเสื่อมราคา
   - การตัดจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร

5. แนวปฏิบัติให้สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือสำหรับกิจการ BOI รวมทั้งกิจการที่มีทั้ง BOI และ non-BOI
   - ประเภทสินค้าคงเหลือ
   - การจัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ
   - การตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ
   - การตั้งค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (NRV)
   - การตั้งค่าเผื่อสินค้าคงเหลือเสื่อมคุณภาพ (Provision)

6. หลักเกณฑ์การรับรู้รายได้สำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
   - วันเริ่มมีรายได้วันแรกสำหรับกิจการ BOI
   - การนับระยะเวลาที่ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

7. หลักเกณฑ์การรับรู้ค่าใช้จ่ายสำหรับกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนจาก BOI

8. หลักเกณฑ์ในการเฉลี่ยรายได้และค่าใช้จ่ายกรณีกิจการมีทั้ง BOI และ NON-BOI

9. การตรวจสอบความครบถ้วนของรายการทางบัญชีก่อนปิดบัญชีสำหรับกิจการ BOI

10. การปรับปรุงรายการบัญชีก่อนการปิดบัญชีตามเกณฑ์คงค้างและสอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชี
   - รายได้ค้างรับ/รายได้รับล่วงหน้า
   - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย/ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
   - การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
   - การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชี
   - การปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด

11. ขั้นตอนการปิดบัญชี
   - ปิดบัญชีรายได้ไปยังบัญชีกำไรขาดทุน
   - ปิดบัญชีค่าใช้จ่ายไปยังบัญชีกำไรขาดทุน
   - ปิดบัญชีกำไรขาดทุนไปยังบัญชีกำไรขาดทุนสะสม

12. การคำนวณกำไรและขาดทุนสำหรับกิจการ BOI ตามประกาศกรมสรรพากร
   - การคำนวณกำไรและขาดทุนต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามประมวลรัษฎากร
   - รายได้ที่นำไปคำนวณกำไรสุทธิจากการประกอบกิจการซึ่งจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
   - กิจการมีทั้งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (BOI) และไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (NON-BOI)
   - การนำผลขาดทุนที่เกิดขึ้นระหว่างได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกำไรที่เกิดขึ้นภายหลังยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

13. ขั้นตอนปฏิบัติในการยื่นแบบขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
   - แยกลงบัญชีรายรับ-รายจ่ายของแต่ละโครงการ
   - ยื่นแบบขอใช้สิทธิ์และรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตให้การรับรอง
   - เอกสารที่ต้องเตรียมให้ผู้สอบบัญชี

14. เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ให้หักค่าขนส่งค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า (มาตรา 35)

15. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba