เทคนิคการวิเคราะห์ การจัดการความเสี่ยงเจ้าหนี้
และประเด็นปัญหาแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
การรับรู้รายการบัญชีเจ้าหนี้ (Accounts Payable : AP)
ที่ส่งผลกระทบต่อความถูกต้องของงบการเงิน
(หลักสูตรใหม่ปี 2567)
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
|
|
ผู้ทำบัญชี |
บัญชี 6 ชั่วโมง |
ผู้สอบบัญชี |
บัญชี 6 ชั่วโมง |
|
|
- การรับรู้บัญชีเจ้าหนี้ กรณีซื้อสินค้าหรือการใช้บริการจากเจ้าหนี้ในต่างประเทศ
- เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชีเจ้าหนี้
- การตรวจสอบความผิดปกติบัญชีพัก Suspense account
วิทยากรโดย อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล
หัวข้อสัมมนา
1. ความสำคัญของการวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงบัญชีเจ้าหนี้การค้า 1.1 ผลกระทบของการบริหารเจ้าหนี้ต่อสภาพคล่องและผลประกอบการ 1.2 ประเภทของความเสี่ยงด้านเจ้าหนี้การค้า 1.3 กรณีศึกษา: ผลกระทบของการจัดการความเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพ
2. เทคนิคการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงบัญชีเจ้าหนี้การค้า 2.1 การวิเคราะห์อายุเจ้าหนี้(Aging Analysis) 2.2 การประเมินความน่าเชื่อถือของเจ้าหนี้ 2.3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน 2.4 การใช้ Key Performance Indicators (KPIs) ในการวัดและติดตามความเสี่ยง
3. การรับรู้รายการบัญชีเจ้าหนี้การค้าและประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อ ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน (ตัวอย่างประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไข) 3.1 ความไม่สอดคล้องของเอกสารและการรับรู้ค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้างทางบัญชี 3.2 การรับรู้บัญชีเจ้าหนี้ กรณีซื้อสินค้าหรือการใช้บริการจากเจ้าหนี้ในต่างประเทศ 3.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชีเจ้าหนี้ ไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์หรือไม่มีเอกสาร ที่มีผลต่อการบันทึกบัญชี 3.4 การตรวจสอบความสอดคล้องของใบส่งสินค้าชั่วคราว กับเอกสารใบกำกับภาษี หรือ ใบแจ้งหนี้ 3.5 การบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายและบัญชีเจ้าหนี้ ก่อนการรับสินค้าหรือการใช้บริการ และการบันทึกบัญชีเจ้าหนี้ก่อนได้รับเอกสารใบกำกับภาษีหรือใบแจ้งหนี้ 3.6 การจ่ายเงินมัดจำค่าสินค้าหรือค่าบริการ การชำระเงินค่าสินค้าหรือค่าบริการล่วงหน้า 3.7 การชำระเงินเจ้าหนี้ กรณีจ่ายชำระบางส่วน (Partial) การชำระเงินให้เจ้าหนี้ขาด (เกิน) 3.8 การลดหนี้จากการคืนสินค้า การเคลมสินค้า หรือยกเลิกบริการ 3.9 การจ่ายชำระเงินให้เจ้าหนี้ต่างประเทศ และการรับรู้ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนของบัญชี เจ้าหนี้กับการจ่ายชำระเงิน 3.10 การติดตามเอกสารใบเสร็จรับเงินหลังการจ่ายชำระหนี้เจ้าหนี้ 3.11 การตรวจสอบความผิดปกติบัญชีพัก Suspense account ด้านการซื้อด้านเจ้าหนี้ และการจ่ายชำระ 3.12 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่ายของเจ้าหนี้ ที่ไม่สอดคล้องกับวันที่ จ่ายชำระเงิน
4. การออกแบบกระบวนควบคุมภายในบัญชีเจ้าหนี้ เพื่อลดความเสี่ยง 4.1 ขั้นตอนการทำงานที่เกี่ยวข้องกับบัญชีเจ้าหนี้ 4.2 ผังทางเดินของเอกสารการซื้อและการจ่ายชำระเงิน 4.3 การออกแบบผังบัญชีที่ใช้ในการบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่าย และเจ้าหนี้ 4.4 การกำหนดนโยบายและขั้นตอนการบริหารบัญชีเจ้าหนี้ 4.5 การวางระบบบัญชีเจ้าหนี้ในโปรแกรม ERP กระบวนการในระบบและฟังก์ชั่นงาน GR/IR 4.6 การตรวจสอบเอกสารประกอบการตั้งเบิกในบัญชีเจ้าหนี้ และการเตรียมการ จ่ายชำระเงินเจ้าหนี้(Pre-Payment) 4.7 การควบคุมภายในการจ่ายชำระหนี้กรณีต่าง เช่น จ่ายด้วยเช็ค จ่ายด้วยระบบ Media Clearing หรือจ่ายผ่านระบบ Internet Banking 4.8 การติดตามเอกสารหลักฐานใบเสร็จรับเงินหลังจ่ายชำระหนี้ 4.9 การวางระบบการประเมินผู้ขาย(เจ้าหนี้) เพื่อประเมินปัญหาในการทำงานร่วมกับเจ้าหนี้ 4.10 สัญญาณเตือนความผิดปกติ RedFlag ในบัญชีเจ้าหนี้ (AccountsPayable : AP)
5. Workshop จากกรณีศึกษา การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากบัญชีเจ้าหนี้ 5.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาจากองค์กรจริง 5.2 การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงจากงบการเงินของเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาผลกระทบต่อกิจการ 5.3 การวิเคราะห์ระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ และการบริหารสภาพคล่อง 5.4 การประเมินอัตรากำไรเพื่อการต่อรองราคา
6.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|
|
|
|