- การรับรู้รายได้ การบันทึกบัญชีลูกหนี้ตามมาตรฐานการบัญชี
- การจัดทำรายงานเพื่อใช้ในการวิเคราะห์อายุลูกหนี้และบริหารลูกหนี้
- Case study กรณีศึกษาการทุจริตจากลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
วิทยากรโดย ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์
หัวข้อสัมมนา
1. การนำเสนอรายการย่อในงบการเงินของลูกหนี้การค้า ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน 2566 1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน (Current assets) - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น 1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (non-current assets) - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ไม่หมุนเวียนอื่น
2. การรับรู้รายได้ การบันทึกบัญชีลูกหนี้ตามมาตรฐานการบัญชี 2.1 ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้ที่เกิดจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ - ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า - ลูกหนี้ตามตั๋วเงินรับอันเกิดจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ 2.2 ลูกหนี้อื่น - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - รายได้ค้างรับอื่น - เงินทดรองจ่าย - เงินมัดจำ - อนุพันธ์ - ลูกหนี้กรมสรรพากร
3.วิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 3.1 วิธีอัตราร้อยละของยอดขายเชื่อสุทธิ 3.2 วิธีอัตราร้อยละของลูกหนี้ที่ค้างชำระจำแนกตามอายุของลูกหนี้ 3.3 วิธีพิจารณาลูกหนี้เป็นแต่ละราย
4. การเปิดเผยข้อมูลลูกหนี้ที่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี 4.1 มูลค่าหนี้สูญที่ตัดจำหน่ายระหว่างงวด 4.2 หนี้สูญได้รับคืนสำหรับงวด 4.3 จำนวนและรายละเอียดของลูกหนี้ที่่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน
5. ระบบการควบคุมภายในลูกหนี้ 5.1 นโยบาย วิธีการพิจารณา และเงื่อนไขการให้เครดิตรวมถึงเงื่อนไขการชำระเงิน 5.2 ข้อควรระมัดระวังการพิจารณาลูกหนี้ 5.3 การจัดเก็บลูกหนี้การวางบิล และมาตรการในการติดตามลูกหนี้ 5.4 เทคนิคการติดตามทวงหนี้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 5.5 วิธีป้องกันการทุจริตจากบัญชีลูกหนี้
6. การวิเคราะห์และบริหารลูกหนี้ 6.1 การจัดทำรายงานเพื่อใช้ในการวิเคราะห์อายุลูกหนี้ 6.2 การนำบัญชีลูกหนี้ไปหาผลประโยชน์การโอนสิทธิเรียกร้องหรือการขายบัญชีลูกหนี้ (Factoring) 6.3 การตัดสินใจในการบริหารลูกหนี้ - การคิดดอกเบี้ย - การคิดค่าปรับ - การคิดค่าเสียโอกาส - การให้นโยบายด้านเครดิต - การจ่ายเช็คล่วงหน้า 6.4 การวิเคราะห์ลูกหนี้และการประเมินความเสี่ยงลูกหนี้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 6.5 การวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยงกิจการให้มีความเสี่ยงน้อยที่สุด 6.6 การวิเคราะห์อัตราส่วนและปัจจัยเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงบัญชีลูกหนี้ต้องใช้ข้อมูลใดบ้างในการวิเคราะห์
7. การวัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่าที่จะได้รับ 7.1 การประมาณการ และการบันทึกบัญชีหนี้สงสัยจะสูญและการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 7.2 การบันทึกบัญชีกรณีที่เก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้และหนี้สูญได้รับคืน 7.3 การจำหน่ายหนี้สูญทางบัญชี
8. ข้อพึงระวังในส่วนของมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง 8.1 รายได้และลูกหนี้การค้า ต้องพิจารณาอะไร 8.2 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญมีข้อจำกัดอะไรบ้าง
9. แนวปฏิบัติทางการบัญชีการตัดจำหน่ายหนี้สูญ 9.1 เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ 9.2 หนี้ที่ขาดอายุความ 9.3 ลูกหนี้ช่วง 0- 200,000 บาท 9.4 ลูกหนี้ช่วง 200,000 – 2,000,000 บาท 9.5 ลูกหนี้ช่วง 2,000,000 บาทขึ้นไป 9.6 อายุความของลูกหนี้และข้อควรระวังในการดำเนินคดีกับลูกหนี้
10. Case study กรณีศึกษาการทุจริตจากลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
11. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|