โครงการอบรมนักบัญชียุคดิจิทัล (IT-Accounting in Practice)

รหัสหลักสูตร : 21/05248P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 26,750 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 28,890 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 
โครงการอบรมนักบัญชียุคดิจิทัล (IT-Accounting in Practice)

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 30 อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 30 อื่นๆ 6 ชม.

 

• รวมหลักสูตรพัฒนาทักษะดิจิทัล และ IT ที่สำคัญสำหรับนักบัญชี
• เข้าใจขั้นตอนระบบบัญชีดิจิทัลและโปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชีที่เหมาะสมกับกิจการ
• ฝึกปฏิบัติ Data Analytics สำหรับงานบัญชี การวิเคราะห์งบการเงินและสร้างรายงานทางบัญชีอย่างมีประสิทธิภาพ

บรรยายโดย ผศ.สุรัตน์ ลีรัตนชัย, ดร.อรัญญา นาคหล่อ และดร.พรพรรณ ดำรงค์สุขนิวัฒน์

Section 1 : Digital Transformation on Accounting Process

ปรับระบบการทำงานบัญชีสู่บัญชีดิจิทัล

หัวข้ออบรม
1. ความสำคัญของการวางระบบและจัดทำบัญชีในรูปแบบดิจิทัล

2. องค์ประกอบการวางระบบบัญชีในรูปแบบดิจิทัล (ระบบเอกสาร ระบบบัญชี และระบบรายงาน)

3. การจัดเตรียมระบบเอกสารก่อนเข้าสู่กระบวนการจัดทำบัญชีดิจิทัล

4. การแปลงเอกสารทางบัญชีจากรูปแบบกระดาษให้เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Paperless)

5. การจัดทำและบันทึกรายการทางบัญชีผ่าน Cloud Accounting Software

6. การเชื่อมต่องานบัญชีระบบเดิมกับระบบบัญชีดิจิทัล (API)

7. การจัดทำ e-Tax Invoice และการเชื่อมต่อกับธนาคาร

8. การจัดเก็บเอกสารและข้อมูลทางบัญชีในรูปแบบดิจิทัลอย่างเป็นระบบ

9. การแชร์ข้อมูลทางบัญชีเพื่อใช้งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

10. การนำส่งงบการเงินผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (e–Filing) ผ่านระบบบัญชีดิจิทัล

11. การจัดเตรียมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ก่อนผู้สอบบัญชีเข้าตรวจ

12. ข้อควรระวังของการจัดทำบัญชีในรูปแบบดิจิทัล

13. Case Study ตัวอย่างการใช้งานจริงทั้งระบบ

14. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

Section 2 : การจัดทำงบประมาณด้วย Excel เพื่อวางแผนและควบคุมการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

หัวข้ออบรม

1. การจัดทำงบประมาณเพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร

- วัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลงบประมาณ

- ประโยชน์ของการจัดทำงบประมาณ

2. แนวทางการจัดทำงบประมาณ และกระบวนการจัดทำงบประมาณ
- Top – Down Budgeting
- Bottom – up Budgeting
- Integrated Budgeting

3.วิธีการจัดทำงบประมาณและวงจรการวางแผนงบประมาณด้วย Excel

- ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ

- การจัดการข้อมูลงบประมาณ

- การรวบรวมข้อมูลงบประมาณ

- การนำเข้าข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูลงบประมาณ

4. กลยุทธ์การจัดการงบประมาณด้านการตลาดและการขายอย่างมีประสิทธิภาพ

5. กรณีศึกษาการจัดทำงบประมาณด้านการดำเนินงาน (Operation Budget) ด้วย Excel
- งบประมาณการขาย (Sale Budgeting)
- งบประมาณการผลิต (Production Budgeting)
- งบประมาณวัตถุดิบทางตรง (Direct Material Budgeting)
- งบประมาณค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor Budgeting)
- งบประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิต-การขาย (Material Overhead and Sales Budgeting)
- งบประมาณต้นทุนการขาย (Cost of goods Sold Budgeting)
- งบประมาณสินค้าปลายงวด (Ending Inventory Budgeting)
- งบประมาณการเงิน (Financial Budgeting)
- งบประมาณการบริหารงานทั่วไป (Administrative Budgeting)
- งบกำไรขาดทุนโดยประมาณ (Budgeted Income Statement)

Section 3 : การวิเคราะห์งบการเงินเชิงปฏิบัติการ (Excel Workshop)

หัวข้ออบรม
1.บทบาทหน้าที่ของนักบัญชีกับการวิเคราะห์งบการเงินในสถานการณ์ปัจจุบัน

2.ส่วนประกอบของงบการเงินที่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 เรื่อง การนำเสนองบการเงิน
    2.1 งบฐานะการเงิน
    2.2 งบกําไรขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
    2.3 งบการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
    2.4 งบกระแสเงินสด
    2.5 หมายเหตุประกอบงบการเงิน

3.เครื่องมือและเทคนิคในการวิเคราะห์งบการเงิน
    3.1 การวิเคราะห์ขนาดร่วม (Common-size Analysis) หรือการวิเคราะห์แนวตั้ง (Vertical Analysis)
    3.2 การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis) หรือ การวิเคราะห์แนวนอน (Horizontal Analysis)
    3.3 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ (Ratio Analysis)
       - การวิเคราะห์สภาพคล่อง (Liquidity Analysis)
       - การวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร (Profitability Analysis)
       - การวิเคราะห์ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ (Asset Utilization Analysis)
       - การวิเคราะห์ความสามารถในการชําระหนี้ (Solvency Analysis)
       - การวิเคราะห์มุมมองของตลาด (Market Perspective Analysis)

4. ตัวอย่างการวิเคราะห์งบการเงินขั้นพื้นฐาน (Excel workshop)

5. รายงานอื่นๆ ที่ใช้ประกอบการวิเคราะห์งบการเงิน

6. ข้อจำกัดและข้อควรระวังในการวิเคราะห์งบการเงิน

7. คุณภาพกำไรและการตกแต่งงบการเงิน

8. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

Section 4 : Data Analytics for Accounting การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการประยุกต์ใช้ในงานบัญชี (2 วัน)

หัวข้อสัมมนา

1. ความสำคัญของ Data Sciences, Big Data และ Data Analytics ในงานบัญชี

2. การนำ Big Data ขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ มาใช้ประโยชน์ในงานบัญชี เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. Data Analytics การวิเคราะห์ข้อมูลกับงานบัญชีการเงินในปัจจุบัน พร้อมตัวอย่างการใช้งานจริง
3.1 วางแผนงบการเงิน และวางแผนภาษีได้อย่างเหมาะสม สำหรับงานบัญชีการเงิน
3.2 วิเคราะห์โครงสร้าง และองค์ประกอบของต้นทุนการผลิต สำหรับงานบัญชีต้นทุน
3.3 วางแผน ควบคุม ตัดสินใจ การลงทุนสินทรัพย์ถาวร และพยากรณ์งบการเงิน สำหรับงานบัญชีบริหาร
3.4 ตรวจสอบและป้องกันการทุจริต จากความผิดปกติของข้อมูล สำหรับงานตรวจสอบและควบคุมภายใน
3.5เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบความผิดปกติของรายการได้อย่างแม่นยำและรวดเร็วสำหรับงานสอบบัญชี

4. ประเภทและรูปแบบของ Data Analytics ที่บัญชีต้องทราบ
4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพื้นฐาน (Descriptive Analysis)
4.2 การวิเคราะห์แบบเชิงวินิจฉัย (Diagnostics Analysis)
4.3 การวิเคราะห์เชิงพยากรณ์ (Predictive Analysis)
4.4 การวิเคราะห์แบบให้คำแนะนำ (Prescriptive Analysis)


5. ขั้นตอนการทำ Data Analytics สำหรับงานบัญชี

5.1 การจัดทำ Data Cleansing เพื่อจัดเตรียมข้อมูลในการวิเคราะห์ข้อมูลบัญชีด้วยโปรแกรม Excel, Google Sheet, VBA, SQL ฯลฯ
5.2 การใช้เครื่องมือในการช่วยจัดทำ Data Analytics เช่น โปรแกรม PowerBI, Google Data Studio, Excel
5.3 การวิเคราะห์โครงสร้างของฐานข้อมูลและการสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูล (Relational Data Model)
5.4 การเลือกรูปแบบการนำเสนอข้อมูลทางบัญชีที่เหมาะสม เช่น ตารางข้อมูล แผนภูมิ การสร้างสูตรการคำนวณ อัตราส่วน ฯลฯ
5.5 การวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบต่างๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ เช่น การวิเคราะห์กลยุทธ์การขายจากยอดขาย ประสิทธิภาพของการวางระบบบัญชี  การพยากรณ์ยอดขาย ฯลฯ

6. ความคุ้มค่าและการลงทุนในการเลือกซื้อ Software สำหรับการทำ Data Analytics ในงานบัญชี


7. กรณีศึกษา Data Analytics for Accounting

8. ฝึกปฏิบัติ Data Analytics for Accounting
8.1 การใช้ Excel เป็นเครื่องมือสำหรับ Data analytics ในงานบัญชีการเงิน
8.2 การใช้เครื่องมือสำหรับ Data analytics ในงานบัญชีการเงิน
8.3 กรณีศึกษาการจัดทำ Data Cleansing สำหรับงานบัญชีและการเงิน
8.4 กรณีศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลการขาย ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น
8.5 กรณีศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เพื่อหาความผิดปกติของข้อมูล
8.6 กรณีศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนการผลิตสินค้า
8.7 กรณีศึกษาการพยากรณ์ข้อมูลทางการเงินสำหรับปีอนาคต
8.8 กรณีศึกษาการสร้างรายงานในรูปแบบต่างๆ เช่น ตารางข้อมูล แผนภูมิ
8.9 การจัดทำข้อเสนอแนะจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ

9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

Section 5 : Pivot Table Excel เพื่อการสร้างรายงานทางบัญชี (Workshop)

หัวข้ออบรม

1. การใช้งาน Pivot Table Excel จัดการข้อมูลบัญชี เพื่อนำไปวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูล

2. เทคนิคการใช้งาน Pivot Table Excel
    2.1 การรวมกลุ่มข้อมูลเข้าด้วยกัน
    2.2 การแยกข้อมูลทั้งแบบรายเดือน รายไตรมาส และรายปี
    2.3 การแสดงความแตกต่างของตัวเลขเมื่อเทียบกับฐานด้วยฟังก์ชั่น Difference From
    2.4 การสร้างแถวข้อมูลใหม่ Calculated Item
    2.5 การเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก
    2.6 การแสดงข้อมูลสะสมด้วยฟังก์ชั่น Running Total in และ %Running Total in

3. การนำเสนอข้อมูลทางบัญชีด้วยการสร้าง Chart รูปแบบต่างๆให้เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภท

4. สร้างรายงานทางบัญชีรายเดือน รายไตรมาส และรายปี

5. การจัดทำบัญชีแยกประเภท GL และสรุปผลต่างของยอดขายด้วยการกรองและแยกประเภทข้อมูล

6. การสร้าง Dashboard เพื่อเพิ่มมุมมองต่างๆ สำหรับใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

7. คุณธรรม จริยธรรม และจรรณยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
 

 

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
30:0 6:0 30:0 6:0

วิทยากร

ผศ.สุรัตน์ ลีรัตนชัย
ดร.อรัญญา นาคหล่อ
ดร.พรพรรณ ดำรงค์สุขนิวัฒน์

สถานที่

โรงแรมอวานี รัชดา กรุงเทพฯ (ชื่อเดิม รร.แกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ)
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba