เจาะปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล พร้อมแนวทางปฏิบัติที่สรรพากรยอมรับ (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/01378Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,494 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เจาะปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล พร้อมแนวทางปฏิบัติที่สรรพากรยอมรับ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม. 
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม. 
  • เจาะประเด็นรายได้-รายจ่ายที่ต้องระวัง เช่น รายได้ตามสัญญาเช่า รายได้รับล่วงหน้า, เงินมัดจำ, เงินประกัน รายจ่ายต้องห้าม อันเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติ
  • การหักค่าสึกหรอ ค่าเสื่อมราคา กับประเด็นที่สรรพากรมักเพ่งเล็ง
  • ประเด็นที่อาจถูกสรรพากรประเมิน กรณีรายได้ค้างรับ-ค้างจ่าย

วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

หัวข้อสัมมนา

1.ประเด็นรายได้ที่นักบัญชีต้องระวัง พร้อมเจาะปัญหาที่น่าสนใจ

  • รายได้จากกิจการ
  • รายได้เนื่องจากกิจการ
  • เกณฑ์ในการรับรู้รายได้
  • รายได้ที่เกิดขึ้นก่อนตั้งกิจการ
  • รายได้จากการขายทรัพย์สิน
  • รายได้ของ BOI กับ Non BOI
  • กรณีกิจการ BOI ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่
  • กรณีหลังสิ้นสุดระยะเวลาที่ได้รับ BOI และบริษัทได้มีการเสียภาษีหลายอัตราจะคำนวณภาษีอย่างไร
  • รายได้จากการขายผลพลอยได้
  • ค่าชดเชยในลักษณะบัตรภาษีจะรับรู้รายได้เมื่อไร
  • ค่าภาษีที่ผู้อื่นออกแทนให้ ถ้าผู้จ่ายเงินไม่ได้ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้ ผู้รับเงินจะทราบได้อย่างไรว่ามีการออกภาษีแทนหรือไม่
  • กรณีบริษัทประกาศจ่ายเงินปันผลแต่ผู้ถือหุ้นไม่มารับ
  • เจ้าหนี้ปลดหนี้ให้
  • ค่าทดแทนจากการถูกเวนคืนดอกเบี้ยที่เกิดจากการชำระเงินล่าช้าของลูกค้า
  • กรณีให้เช่าที่ดินและได้รับกรรมสิทธิ์ในอาคารที่ผู้เช่าได้ก่อสร้าง
  • เงินชดเชยความเสียหายที่ได้ไม่เกินกว่าความเสียหายที่ได้รับ
  • เงินชดเชยความเสียหายที่ได้รับเกินกว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
  • เงินชดเชยที่จ่ายโดยบริษัทประกัน
  • การได้ใช้ทรัพย์สินของผู้อื่นโดยไม่มีค่าตอบแทน
  • การรับรู้รายได้จากการขายซากทรัพย์สิน, ขายซากรถยนต์นั่ง
  • กรณีสำนักงานใหญ่ส่งเงินให้สาขาต้องถือเป็นเงินได้หรือไม่
  • ส่วนเกินมูลค่าหุ้นต้องรับรู้รายได้หรือไม่
  • ส่งสินค้าตัวอย่างให้ลูกค้าทดลองใช้ สรรพากรมีสิทธิประเมินรายได้ได้หรือไม่
  • รายได้ที่เกิดขึ้นจากกิจการที่ทำในต่างประเทศต้องนำมาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลในไทยหรือไม่
  • มีเงินค่าขายสินค้า แต่ลงบัญชีเป็นเงินกู้ยืม
  • รายได้จากการลงทุนในคริปโทฯ/ รายได้จากการรับชำระค่าสินค้า บริการจากคริปโทฯ จะบันทึกรายได้อย่างไร

2.ปัญหาการรับรู้รายได้นิติบุคคลกับ VAT

3.การรับรู้รายได้ตามสัญญาเช่า, การรับรู้รายได้จากสัญญาระยะยาว

4.การรับรู้รายได้รับล่วงหน้า, เงินจอง, เงินมัดจำ, เงินประกัน

5.รายได้ค้างรับ-รายจ่ายค้างจ่ายที่ตั้งไว้มีประเด็นที่อาจประเมินได้หรือไม่

  • การรับรู้รายได้ตามหลักเกณฑ์สิทธิทางภาษีกับเกณฑ์คงค้างทางบัญชี เหมือนกันหรือไม่

6.เจาะประเด็นรายจ่ายที่สรรพากรมักประเมิน

  • รายจ่ายในการก่อตั้งบริษัทซึ่งที่ประชุมตั้งบริษัทได้ให้สัตยาบันแล้ว สามารถลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่
  • รายจ่ายที่เกี่ยวกับพนักงาน ลูกจ้าง
  • รายจ่ายที่เกี่ยวกับกรรมการ
  • จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมให้กรรมการ หรือบริษัทในเครือโดยอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าธนาคารได้หรือไม่
  • รายจ่ายเกี่ยวกับการซ่อมแซม อย่างไรเรียกว่า ซ่อมแซม
  • การเปลี่ยนแบตเตอรี่รถยนต์ถือเป็นการซ่อมแซมหรือไม่
  • กรรมการผู้จัดการของบริษัท ได้จ่ายเงินไปแล้วโดยใช้บัตรเครดิตส่วนตัว ต่อมานำเอาสลิปหรือหลักฐานแสดงการหักบัญชีของธนาคารซึ่งมีลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ร้านค้ามาเบิกคืนเงินจากบริษัท หลักฐานดังกล่าวกรมสรรพากรยอมรับหรือไม่
  • ต้นทุนทางการเงินสรรพากรถือเป็นรายจ่ายหรือไม่
  • ค่ารับรองที่ให้เกิน2,000 บาท จะลงค่าใช้จ่ายอย่างไร
  • ใบรับชั่วคราวมีชื่อ ที่อยู่ และลายเซ็นพนักงานของบริษัทเป็นผู้รับเงิน และยังระบุว่าชำระโดยเช็คและมีการเรียกเก็บเงิน

7.รายจ่ายต้องห้ามที่ต้องบวกกลับ

  • รายจ่ายอะไรบ้างที่สรรพากรมักให้บวกกลับทางภาษี
  • จ่ายเงินแทนบริษัทในเครือลงรายจ่ายได้หรือไม่
  • รายจ่ายค่าบริจาคที่เป็นประเด็นให้สรรพากรตรวจสอบ
  • รายจ่ายที่พิสูจน์ผู้รับเงินไม่ได้
  • รายจ่ายที่จ่ายส่วนตัว อย่างไรเรียกว่าส่วนตัว

8.ปัญหาการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี กรณีการซื้อทรัพย์สินใหม่เพื่อลงรายจ่ายทางภาษีได้ 2 เท่า

9.ปัญหาการหักค่าเสื่อม ค่าสึกหรอ ประเด็นที่นักบัญชีควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ!!

10.ปัญหาการตรวจสอบของสรรพากรที่พบบ่อย

  • การใช้ไฟฟ้า
  • การใช้น้ำ
  • แรงงานคน
  • ค่าใช้จ่ายเพิ่มน่าจะมีรายได้เพิ่ม
  • ขอดูงบก่อน ต้องห้ามบวกกลับทันที
  • ขายสินค้าทาง Online
 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand) หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **


   


 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba