พิเศษ!! Promotion เข้าอบรม 2 ท่าน ลด 1,000 บาท (หลักสูตรเดียวกัน/ ใบเสร็จรับเงินฉบับเดียวกัน/ ไม่ร่วมโปรโมชั่นอื่น)
พิเศษ! สำหรับผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับ • “ตัวอย่างสัญญา” ที่ใช้ได้ทันที พร้อม Trick ในการร่างสัญญา มูลค่าหลักแสนบาท • Handy Drive ที่มีข้อมูลสามารถนำไปแก้ไขใช้สำหรับบริษัทท่าน
ด่วน!! ปี 2567 สรรรพากรเริ่มตรวจสอบสัญญาระหว่างแพทย์, คลีนิก, โรงพยาบาล, ระบบการเงิน, บัญชี, หลักการออกใบเสร็จ และระบบ IT
ทำอย่างไร? ให้หลุดจากกรอบความคิดสรรพากร ดึงความเป็น “แพทย์” ไม่ให้เป็น ม.40(1), (2) “ทำให้แพทย์เป็นแพทย์” ให้เป็นจุดเด่นตาม ม.40.(6) เทคนิคชี้แจงต่อสรรพากร เปลี่ยนสิ่งที่เป็นไปได้ยาก ให้เป็นไปได้!
ทำสัญญาอย่างไร “เสียภาษีน้อย” แต่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้ประโยชน์สูงสุด ทั้งโรงพยาบาล, สถานพยาบาล, สถานเสริมความงาม, คลินิกทันตกรรม และแพทย์
• ผลกระทบทางภาษี การทำสัญญาเช่าใช้ใน/ นอกเวลาราชการ, โรงพยาบาลรัฐ/ เอกชน • ประเด็นทางภาษีที่สรรพากรตรวจสอบ แพทย์เอกชน, คลินิกพิเศษราชการ, แพทย์ที่ไม่ได้อยู่ประจำ, แพทย์ On call • แพ้-ชนะ สรรพากร อยู่ที่การลงบัญชี และการทำสัญญา • เงินได้ของแพทย์จากสถานการณ์ COVID-19 กรณีใดบ้าง? ที่ได้รับยกเว้นภาษี
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ - ตัวแทนประกัน ที่ต้องขายประกันให้แพทย์ - นักวางแผนทางการเงิน เพื่อวางแผนภาษีให้แพทย์ - ฝ่ายบัญชี เพื่อรับรู้รายได้ของแพทย์ - ฝ่ายการเงิน เพื่อแยกรายการค่าแพทย์กับค่าใช้จ่ายอื่นของแพทย์ออกจากเงินเดือน - ฝ่าย IT เพื่อการวางระบบในโรงพยาบาล - ที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายของโรงพยาบาล
เสริมวิชาชีพ “นักบัญชีไทย” (CPD/TA/CPA) เพื่ออธิบายให้แพทย์เกิดความเข้าใจในการประหยัดภาษี (Tax Avoidance) ทำให้แพทย์ เป็นวิชาชีพอิสระตาม ม. 40(6) แห่งประมวลรัษฎากร [หักเหมาจ่าย 60%] ด้วยการแสดงหลักฐาน ทางเอกสารการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (Withholding Tax) และการเบิก-จ่ายทางระบบบัญชี รวมทั้งการทำสัญญา (Contract) รูปแบบต่างๆ
ประเด็นปัญหา “แพทย์” • เป็นเงินได้ฯ ม. 40(1) / ภ.ง.ด.1 / ภ.ง.ด.1ก. ใช้ ม. 48(1) ประมวลรัษฎากรหักภาษีฯ อัตราก้าวหน้า • เป็นเงินได้ฯ ม. 40(2) / ภ.ง.ด.1 / ภ.ง.ด.1ก. ใช้ ม. 48(1) ประมวลรัษฎากรหักภาษีฯ อัตราก้าวหน้า • เป็นเงินได้ฯ ม. 40(6) ประมวลรัษฎากร / ภ.ง.ด.1 / ภ.ง.ด.1ก. ใช้ ม. 48(1) ประมวลรัษฎากรหักภาษีฯ อัตราก้าวหน้า • เปิดมุมมองใหม่ ทำเป็นค้าร่วม ความแตกต่างระหว่างค้าร่วม และร่วมค้า
วิทยากรโดย รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว
หัวข้อสัมมนา
1. Update กฎหมายภาษีที่เกี่ยวกับการเสียภาษีของแพทย์ พร้อมการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างครบถ้วน
2. โครงสร้างการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่เกี่ยวกับแพทย์
3. ประเด็นความแตกต่างของเงินได้ประเภท 40(1) (2) (6) (8) กับภาระภาษีของแพทย์ • เปรียบเทียบภาระภาษีของแพทย์แต่ละประเภทเงินได้ • รับเงินได้จากโรงพยาบาลเป็น 40(6) แต่สรรพากรประเมินเป็นเงินได้ 40(2) จะแก้ปัญหาอย่างไร • ประเด็นทางภาษีที่สรรพากรตรวจสอบแพทย์เอกชน, คลินิกพิเศษราชการ, แพทย์ที่ไม่ได้อยู่ประจำ, แพทย์ On call • ไม่มีสัญญาจ้างและรับค่าตอบแทนตามจำนวนคนไข้ที่รักษา เป็นเงินได้ประเภทใด • ตีแตกความต่างของแพทย์ในคลินิกพิเศษของรัฐ กับการเปิดคลินิกทั่วไป • ข้อตกลงการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างหมอกับคลินิกที่มีลักษณะคล้ายหุ้นส่วน • รายได้มากอยากเสียภาษีน้อยต้องวางแผนอย่างไร
4. ความแตกต่างในการคำนวณภาษีเงินได้ 40(6) ระหว่างวิชาชีพทั่วไป กับวิชาชีพอิสระ และปัญหาการตีความ • วิชาชีพทั่วไป กับวิชาชีพอิสระตีความอย่างไร ทำไมเสียภาษีต่างกัน • ปัญหาการตีความอย่างไรให้ชัดเจน เพื่อให้เป็นวิชาชีพอิสระ
5. การวางแผนภาษีร่วมกันของแพทย์และโรงพยาบาล • ประเด็นตรวจสอบการเข้ามาทำงานของแพทย์ และพนักงานทั่วไปว่าเข้าในฐานะอะไร? และมีผลทางภาษีอย่างไร?
6. เทคนิคการทำสัญญาระหว่างโรงพยาบาลกับแพทย์ ให้ WIN WIN ทั้งสองฝ่าย
7. ตัวอย่างสัญญาและความแตกต่างของสัญญาแต่ละประเภทของเงินได้แพทย์ • สัญญาจ้างแรงงาน • สัญญาจ้างทำของ • สัญญาจ้างประกอบวิชาชีพอิสระ
8. Workshop ร่างสัญญาเพื่อให้เป็นเงินได้ 40(6) วิชาชีพอิสระที่นำไปใช้ได้จริงไม่ถูกประเมินภาษีย้อนหลัง
9. การวางแผนการลงบัญชีให้ถูกต้องและสอดคล้องกับสัญญาระหว่างโรงพยาบาลกับแพทย์ • ปัญหาสัญญาระหว่างโรงพยาบาลกับแพทย์ ที่ไม่เข้าเงื่อนไขของ “วิชาชีพอิสระ”
10.การวางแผนเพื่อรับมือการถูกตรวจสอบเงินได้ของแพทย์แบบครบวงจร • การลงบัญชี • การทำสัญญา • หลักฐานการเป็นวิชาชีพอิสระต้องใช้อะไรประกอบ • การออกใบเสร็จเพื่อรองรับการเป็นวิชาชีพอิสระของแพทย์ • การคิดเฉพาะค่าตรวจแล้วเขียนใบสั่งยาให้คนไข้ไปซื้อยาเอง • เตรียมรับมือโต้แย้งสรรพากรหากถูกประเมินว่าเงินได้ของแพทย์เป็นการรับจ้างช่วง (Subcontract)
11.การวางระบบใบเสร็จรับเงินที่โรงพยาบาล และแพทย์ต้องทำให้สอดคล้องกับประเภทเงินได้ • ค่ายา • ค่าเวชภัณฑ์ • ค่าบริการ ค่าห้องพัก • ค่าตรวจโรค (DF) • ปัญหาการออกใบเสร็จรวมเป็นค่าตรวจโรคและค่ายา (Package)
12. 10 จุด การตรวจสอบของสรรพากรสำหรับเงินได้ของแพทย์
13.แนวโน้มการตรวจสอบภาษีของแพทย์ ข้อดี-ข้อเสีย หากแพทย์จัดตั้งบริษัทจำกัดคนเดียว
14. กรณีแพทย์หรือโรงพยาบาลต้องรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นกับคนไข้ลงรายจ่ายได้หรือไม่
|