รวมประเด็นภาษีเพื่อการปิดบัญชีอย่างถูกต้อง

รหัสหลักสูตร : 21/01952P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,029 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,778 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

202210_650_21.jpg - 473.05 kB

รวมประเด็นภาษีเพื่อการปิดบัญชีอย่างถูกต้อง

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

  • ปิดบัญชี และปิดความเสี่ยงการถูกตรวจสอบจากสรรพากร
  • ต้องจัดทำรายงานอะไรบ้างเมื่อสิ้นรอบบัญชี
  • เผยวิธีจัดการกับสินค่าชำรุด เสียหาย เสื่อมสภาพ ล้าสมัย ให้ถูกต้องและสรรพากรยอมรับ
  • รู้ถึงหลักเกณฑ์ทางภาษีอากรในการพิจารณาสินทรัพย์ถาวรกับค่าใช้จ่าย
  • เข้าใจการรับรู้รายได้ทางบัญชีกับทางภาษี พร้อมเคลียร์ประเด็นปัญหารายจ่ายของกิจการเมื่อปิดบัญชี

 

วิทยากรโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบบัญชีภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

  1. การบันทึกรายได้-รายจ่ายตลอดรอบระยะเวลาบัญชี ประเด็นที่ต้องระมัดระวัง ณ วันปิดบัญชีและเสียภาษี
    - เกณฑ์สิทธิ เกณฑ์คงค้างทางบัญชี จุดที่นักบัญชีต้องระวังเมื่อปิดบัญชี
    - รายได้รับล่วงหน้า/รายได้ค้างรับ- รายจ่ายล่วงหน้า/รายจ่ายค้างจ่าย
    - รายได้-รายจ่ายทางบัญชีกับภาษี ความเหมือนและความแตกต่างที่จะมีผลต่อการปิดบัญชีและเสียภาษี
  1. ประเด็นเรื่องรายได้ ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - ยอดรายได้ที่ปีปัจจุบันต่ำกว่าปีก่อนจะถูกเพ่งเล็งจากเจ้าหน้าที่หรือไม่
    - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี เมื่อปิดบัญชีต้องปฏิบัติ
    - รายได้ที่มักจะเสียภาษีไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง
    - รายได้อื่นที่ต้องระมัดระวัง ณ วันปิดบัญชี
    - กิจการจะต้องจัดทำรายงานอะไรบ้างเพื่อควบคุมรายได้ให้ถูกต้องไม่เสียภาษีผิดพลาด
    - กำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในทางภาษีอากร ณ วันปิดบัญชีจะต้องใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
  1. ประเด็นเรื่องสินทรัพย์ที่ต้อง การคิดค่าเสื่อมราคา ณ วันปิดบัญชี
    - สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
    - ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์, สินทรัพย์ที่กิจการสร้างขึ้น, อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
    - ผลขาดทุนจากสินทรัพย์ด้อยค่าจะถือเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
    - การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาวิธีลดยอดทวีคูณในทางภาษีอากรต้องบวกกลับหรือไม่
    - กิจการบันทึกสินทรัพย์คาดเคลื่อนจะมีผลทางภาษีอากรอย่างไร
    - การพิจารณาระหว่างสินทรัพย์ถาวรกับค่าใช้จ่ายมีหลักเกณฑ์อย่างไรในทางภาษีอากร
    - การบันทึกทรัพย์สินไม่ถูกต้อง ผลกระทบเมื่อปิดบัญชี
    - กู้เงินเพื่อซื้อสินทรัพย์ ดอกเบี้ยเงินกู้จะถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย
    - สินทรัพย์มูลค่าเล็กน้อยตัดเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในรอบบัญชีที่ได้มาทั้งจำนวนได้หรือไม่
    - ทางบัญชีจะกำหนดมูลค่าสินทรัพย์ที่ได้มาเพื่อตัดเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนได้หรือไม่
    - รายจ่ายในการซ่อมแซม ต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้น จะบันทึกบัญชีและเสียภาษีอย่างไร
    - การบันทึกบัญชีผิดระหว่างปี จะมีผลต่อการปิดบัญชีและเสียภาษีอย่างไร
  1. ปัญหาเกี่ยวกับการกู้ยืม หนี้สิน เจ้าหนี้ ผลกระทบการปิดบัญชี
    - เงินสด เงินฝากธนาคาร รายการเทียบเท่าเงินสด
    - เงินสด ลูกหนี้เงินยืมกรรมการ รายการเงินให้กู้ยืมต่างๆ
    - นำเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ มาให้บริษัทในเครือกู้ยืม
    - การรับรู้ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - เจ้าหนี้ทั้งหมด  - ภาษีขายตั้งพักสำหรับค่าบริการและการขาย
    - เจ้าหนี้รายตัว กับ บัญชีคุมเจ้าหนี้ กิจการควรปฏิบัติอย่างไร ณ วันปิดบัญชี
    - ยอดเจ้าหนี้คงเหลือ ณ วันปิดบัญชีมียอดติดลบได้หรือไม่
    - ณ วันปิดบัญชีกิจการจะต้องมีการตั้งประมาณการหนี้สินทางบัญชีในทางภาษีอากรยอมรับหรือไม่
  1. ประเด็นลูกหนี้การค้าต่อการปิดบัญชี
    - ลูกหนี้การค้า กับ ลูกหนี้อื่น               
    - ลูกหนี้จากการขายสินค้า กับ ลูกหนี้จากการให้บริการ
    - การตัดหนี้สูญถือเป็นค่าใช้จ่ายต้องรอจนกว่าคดีถึงที่สุดทุกกรณีหรือไม่
    - การสอบยันยอดลูกหนี้รายตัวกับบัญชีคุมยอดลูกหนี้เมื่อปิดบัญชี กรณีไม่ตรงกันต้องปฏิบัติอย่างไร
  1. การตั้งหนี้สูญ การตัดหนี้สูญ ในรอบระยะเวลาบัญชีจัดการอย่างไรเมื่อมีการปิดบัญชี
    - ทวงถามให้ชำระหนี้                               
    - ดำเนินคดีตามกฎหมาย
    - แจ้งให้ชำระหนี้ริบเงินประกัน บอกเลิกสัญญา แต่หนี้ค้างมากกว่าเงินประกันตามสัญญา
    - หนี้สงสัยจะสูญจะถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามหรือไม่
    - ลูกหนี้ที่ถึงกำหนดชำระแล้ว ไม่สามารถชำระหนี้ได้กิจการจะตัดหนี้สูญอย่างไรให้ถูกต้อง
    - การตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญถือเป็นค่าใช้จ่ายต้องรอจนกว่าคดีถึงที่สุดทุกกรณีหรือไม่
    - สิ่งที่ต้องปฎิบัติในการตัดหนี้สูญเมื่อปิดบัญชี
  1. ประเด็นเรื่องสินค้าคงเหลือ ต่อการปิดบัญชี
    - การวัดมูลค่า, ต้นทุน, การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ
    - การรับรู้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสินค้าคงเหลือ
    - มูลค่าที่ลดลงของสินค้าคงเหลือในการปิดบัญชี
    - ส่วนผลขาดทุนอื่นที่เกี่ยวข้องกับสินค้าคงเหลือ (เช่น ขาดทุนจากสินค้าที่สูญหาย)
    - การกลับรายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ
    - สินค้าคงเหลือต้องจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
    - เมื่อสิ้นรอบบัญชีต้องมีการตรวจนับสินค้าคงเหลือต้องจัดทำรายงานอะไรบ้างจึงจะครบถ้วนถูกต้อง
    - การตีราคาสินค้าคงเหลือให้ครบถ้วนถูกต้อง
    - สินค้าชำรุด เสียหาย เสื่อมสภาพ ล้าสมัยจะต้องจัดทำรายงานอย่างไรให้สรรพากรยอมรับ
    - แนวปฏิบัติที่ถูกต้องกรณีวัตถุดิบเสียหาย, งานระหว่างทำเสียหาย, สินค้าสำเร็จรูปเสียหาย
    - การตัดบัญชีของสินค้าเสียหาย, สูญหาย, ทำลายสินค้าและวัตถุดิบมีวิธีใดบ้างที่สรรพากรยอมรับ
    - “สินค้าขาดหรือเกิน” จากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ต้องปฏิบัติอย่างไร และรายงานอะไรบ้างที่ต้องจัดทำ
    - ภาระภาษีของรายได้จากการขายเศษวัสดุมีอะไรบ้าง
  1. ประเด็นเรื่อง รายจ่าย รายจ่ายต้องห้าม เงินบริจาค และค่ารับรอง ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - วิธีพิจารณาว่า อย่างไรจึงจะถือเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิทางภาษีอากรได้
    - ความแตกต่างรายจ่ายทางด้านบัญชี และภาษี ปิดบัญชีต้องทำอย่างไร
    - ประเด็นเรื่องส่งเสริมการขาย ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - รายจ่ายต้องห้ามอะไรบ้างที่กิจการจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ณ วันปิดบัญชี
    - รายจ่ายต้องห้ามต้องบวกกลับทุกรายการหรือไม่
    - รายจ่ายส่วนตัว ให้โดยเสน่หาที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม
    - รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ
    - รายจ่ายที่ไม่ได้จ่ายจริง
    - บริจาคอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้
    - กิจการขาดทุนแต่มีรายการบริจาคในระหว่างปีจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่
    - รายจ่ายการกุศลสาธารณะต้องไม่เกินร้อยละ 2 ของกำไรสุทธิเป็นอย่างไรมีวิธีการคำนวณอย่างไร
    - รายจ่ายเพื่อการศึกษาและการกีฬาต้องไม่เกินร้อยละ 2 ของกำไรสุทธิเป็นอย่างไร มีวิธีการคำนวณอย่างไร
    - ซื้อบัตรการกุศลจะถือเป็นรายจ่ายคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่
    - บริจาคอย่างไรจึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
    - ค่ารับรองต้องไม่เกินรายละ 2,000 บาท หมายความว่าอย่างไร
    - สิ้นรอบบัญชีค่ารับรองต้องไม่เกิน 3% ต้องคำนวณอย่างไร และหากเกินต้องบวกกลับในแบบ ภ.ง.ด.50 หรือไม่
    - ภาษีซื้อที่ขอคืนหรือเครดิตภาษีขายได้ แต่กิจการไม่ต้องการขอคืนถือเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
    - ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามหรือไม่
    - เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา
  1. รายจ่ายที่จ่ายจริง แต่ไม่มีหลักฐานที่เพียงพอ ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - หลักเกณฑ์ 4 ข้อในการพิจารณา “บิล” อย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้
    - ค่าใช้จ่ายจะต้องมี “บิล” ทุกรายการหรือไม่ หากไม่มี “บิล” ต้องปฏิบัติอย่างไร
    - เอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการลงรายจ่ายกรณีไม่มีใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด
  1. ประเด็นเรื่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี วิธีการและเอกสารประกอบที่ต้องจัดทำ
  2. ขาดทุนสะสมกับผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - ปัญหาขาดทุนสะสมเกินทุน
    - ขาดทุนสะสมไม่เกิน 5 ปี มีหลักเกณฑ์การใช้สิทธิอย่างไรในทางภาษีอากร
    - การเลือกหักขาดทุนสะสมบางปีทำได้หรือไม่
  1. ประเด็นเรื่องการบวกกลับ ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - ประเด็นการปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชีให้เป็นกำไรสุทธิทางภาษีอากร(บวกกลับ)มีอะไรบ้าง
    - ความผิดพลาดที่มักเกิดขึ้นในการบวกกลับไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง
  1. งบกระทบยอดกับบัญชีพิเศษ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ผลกระทบทางภาษีและการปิดบัญชี
    - ภ.ง.ด.1, 1ก
    - ภ.ง.ด.3                             
    - ภ.ง.ด.53           
    - บัญชีพิเศษ
    - ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่กิจการมีสิทธิขอคืน แต่ไม่ขอคืนจะต้องปฏิบัติอย่างไร
    - ภาษี ณ ที่จ่ายที่ไม่ขอคืน ต้องนำมารวมเป็นรายได้หรือไม่
  2. เอกสารที่ต้องพร้อมเมื่อปิดบัญชี กรณีถูกตรวจสอบหรือตรวจย้อนหลัง
    - งบการเงิน - จำนวนหุ้น                       
    - สำรองตามกฎหมาย                                     
    - กำไร/ ขาดทุนสะสมยกมา
    - งบทดรอง - กำไร/ ขาดทุนสุทธิปีปัจจุบัน       
    - บัญชีแยกประเภท
    - ภ.ง.ด. 50 ของปีก่อน
    - ภ.ง.ด. 51                                                                     
    - สบช. 3 อบจ.5
    - ทางแก้ปัญหาการประมาณการกำไรสุทธิภ.ง.ด. 51 ขาด-เกิน
  1. การปิดบัญชีเพื่อเตรียมยื่นแบบ ภ.ง.ด 51, ภ.ง.ด. 50
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

ผู้ทรงเชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและการตรวจสอบภาษี

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เซนเตอร์ พ้อยต์ เพลินจิต
100 ถ. วิทยุ แขวง ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 055 9000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 5


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba