ความแตกต่างจากหลักสูตร กฎหมายแรงงานอื่นๆ ที่ท่านจะได้รับอะไร? จากหลักสูตรนี้
• เน้น Case Study กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง ผิดพลาดบ่อยๆ และร้ายแรง • บรรยายซักถาม ประเด็นสำคัญในเชิงวิเคราะห์ (เนื่องจากผู้เข้าสัมมนามีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ในระดับหนึ่งแล้ว) • เรียนรู้ปัญหาต่างๆ และศึกษาจากคําพิพากษาฎีกาจริงๆ การใช้หลักการคำพิพากษาฎีกาอ้างอิง กรณีเกิดปัญหา ฟ้องร้อง คดีแรงงาน • บูรณาการการแก้ไขปัญหาการลาป่วยของพนักงานที่คุณต้องเจอกับพนักงานที่ผู้บริหารและHR นึกไม่ถึงว่า ต้องพบกับพนักงานที่ลาขั้นเทพ • Case Study การคำนวณเงินที่จะต้องจ่ายให้กับลูกจ้าง เช่น คิดค่าล่วงเวลา ที่ HR คำนวณผิดพลาด ในทาง ปฏิบัติไม่จ่ายแต่ทาง กฎหมายแรงงานเมื่อคิดแล้วต้องจ่าย
• Case Study : ปัญหาค่าจ้าง ค่าตอบแทน รายได้ของลูกจ้าง พร้อม Update อัตราค่าจ้างขั้นตํ่าและกฎหมายอื่นๆ
วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
เรียนรู้กระบวนการ Process เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. จุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด ของคนในองค์กร เกี่ยวข้องอย่างไร? กับกฎหมายแรงงาน 2. การให้ “คุณ” ให้ “โทษ” ในการบริหาร “ฅน” ด้วยกฎหมายแรงงาน 3. การฟ้องร้องคดีแรงงานต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวงการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ Case Study : กรณีศึกษาทางด้านกฎหมายแรงงาน เน้นกรณีศึกษา : ปัญหาแรงงานที่ขึ้นสู่คดีแรงงาน เกิดขึ้นบ่อย ร้ายแรง เสียหาย 4. สัญญาจ้างแรงงาน (hire of service & hire of work) - ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับจ้างทำของ - ประเด็น Point ที่สำคัญและควรระมัดระวังในการทำ “สัญญาจ้าง” - กรณี“ห้ามค้าแข่ง” ขณะทำงาน และหลังออกจากงาน 5. ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง (working regulation & lawful order) - องค์ประกอบสำคัญของการเขียนระเบียบข้อบังคับ - คำสั่ง ประกาศจะต้องทำอย่างไร? จึงถูกกฎหมาย - คำสั่งต่างๆ เช่น เปลี่ยนสถานที่ทำงาน, โยกย้ายตำแหน่งหน้าที่, สั่งให้ทำงานให้แก่ บริษัทในเครือ หรือคู่ค้า สั่งกรณีควบรวมกิจการ ฯลฯ 6. ค่าจ้าง ค่าตอบแทน (wage & compensation) - เวลาทำงานปกติ (Regular Working) - เวลาพัก (Rest Period) 7. หลักเกณฑ์ในการกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการทำงานแต่ละวัน - การจัด "กะ" ในเวลาทำงาน - การจัดเวลาพักช่วงท้าย - อะไร? คือ “ค่าจ้าง” สวัสดิการ,ผลประโยชน์เพิ่ม - “ฐาน” ค่าจ้าง ในการคำนวณ คิดอย่างไร? การคำนวณอัตราเงินเดือนโดยอ้างอิงค่าจ้างขั้นต่ำ - ค่าจ้างขั้นต่ำกับค่าจ้างขั้นต่ำมาตรฐานฝีมือ - ปัญหาการจ่ายค่าจ้าง ต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ - ค่าล่วงเวลา ปัญหาค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุดเหมาจ่าย - กรณีค่าล่วงเวลา การเลิกจ้าง ใช้ “ค่าจ้าง” ใด? คำนวณจึงจะถูกต้อง 8. การเลิกจ้าง (termination of employment) - นายจ้าง..รู้จริงรึเปล่า? เกี่ยวกับ หนังสือเตือน, สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า,ค่าชดเชย,ค่าชดเชยพิเศษ - ปัญหา..การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม (unfair dismissal) ขึ้นโรงขึ้นศาลมากที่สุด ต้องทำอย่างไร? จึงสามารถ ป้องกันได้ Work shop : ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ “คําพิพากษาฎีกา” ทางด้านแรงงาน - วิธีการอ่าน คำพิพากษาฎีกา ในประเด็นสำคัญๆ ที่เป็นประเด็นหลัก ของคำพิพากษา - วิธีการค้น คำพิพากษาฎีกา ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา คดีที่เกิดขึ้น Case Study : คําพิพากษาฎีกายอดฮิต
|