• “เหตุสุดวิสัย” ตามกฎหมายแรงงานคืออะไร? การสิ้นสุดสัญญาจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไร? และจะได้รับเงินต่างๆ ในกรณีใดบ้าง? • “ค่าจ้างเดือนสุดท้าย” ในการคำนวณค่าชดเชยจะต้องคิดอย่างไร? หากลูกจ้างโดนลดเงินเดือน ตามสถานการณ์ • การจ่ายและคำนวณเงินชดเชย การบอกกล่าวล่วงหน้า • กรณีใดบ้าง? สามารถเลิกจ้างได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรม
วิทยากรโดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
หัวข้อสัมมนา
1. ประเด็นและปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับกาารเลิกจ้าง • กรณีการเกษียณอายุของลูกจ้าง เป็นการสิ้นสุดการจ้างประเภทใด และ ประเด็นการเกษียณอายุ ของลูกจ้าง ที่มีผลบังคับใช้กันยายน 2560 - กฎหมายใหม่กำหนดการเกษียณอายุเท่าไหร่ - ข้อบังคับบริษัทกำหนดการเกษียณ มากกว่าหรือน้อยกว่า กฎหมายกำหนด จะต้องปฏิบัติอย่างไร? - กรณีเกษียณอายุตามกำหนด และได้รับค่าชดเชยแล้ว และมีการจ้างงานต่อ จะต้องปฏิบัติอย่างไร และจะได้รับ สิทธิค่าชดเชยหรือไม่? - กรณีตายก่อนเกษียณ จะได้รับเงินจากนายจ้างหรือไม่ • ประเภทของการสิ้นสุดสัญญาจ้าง ในการบริหารงานบุคคล ที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ต้องรู้ - ลาออก - ปลดออก/ไล่ออก - นายจ้างลูกจ้างตกลงเลิกจ้าง - การเกษียณอายุของลูกจ้าง *** - การสิ้นสุดสัญญาจ้าง • กรณีการลงโทษทางวินัย ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ การกระทำผิดร้ายแรง จะต้องดำเนินการอย่างไร - การฝ่าฝืนข้อบังคับฯ - การกระทำผิดซ้ำคำเตือน - การออกหนังสือเตือน - การออกใบผ่านงาน (Reference) • กรณีการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม และการเลิกจ้างอย่างไร? ยุติปัญหานายจ้างลูกจ้าง • กรณีการจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า - การคำนวณสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า • ค่าชดเชยและอัตราค่าชดเชย - Update ค่าชดเชยและอัตราค่าชดเชย ตามกฎหมายแรงงานฉบับใหม่ 2561 - ค่าชดเชยพิเศษ มาตรา 120 และ ค่าชดเชยพิเศษ มาตรา 121 - บทลงโทษ กรณีนายจ้างไม่จ่ายเงินชดเชยให้กับลูกจ้าง
2. ขั้นตอนการลงโทษทางวินัย ก่อนการเลิกจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไร? • การตักเตือน ด้วยวาจา • ออกหนังสือเตือน • เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย • ภาคทัณฑ์ • พักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้าง
3. สาระสําคัญของหนังสือเตือนที่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน • รายละเอียดของหนังสือเตือน • วิธีการแจ้งคำเตือนให้ลูกจ้างทราบ • หนังสือเตือนจะต้องมีพยานหรือไม่ • หนังสือเตือนจะต้องเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่
4. พิพากษาฎีกาที่สําคัญ เกี่ยวกับการเลิกจ้างที่นายจ้างและ HR ต้องรู้
5. ถามตอบปัญหาจากวิทยากร
|