วิทยากรโดย อาจารย์สุจิตรา บุญชู
หัวข้อสัมมนา
1. Update! กฎหมายประกันสังคม เพื่อนำมาปฏิบัติในปี 2567
2. หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม
3. ขอบเขตและการบังคับใช้ของกฎหมายประกันสังคม
4. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกองทุนประกันสังคม 7 กรณีสำหรับผู้ประกันตน - กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย - กรณีคลอดบุตร - กรณีสงเคราะห์บุตร - กรณีทุพพลภาพ - กรณีตาย - กรณีว่างงาน ยกเว้นผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 - กรณีชราภาพ
5. หน้าที่ของนายจ้าง และลูกจ้าง ในการส่งเงินสมทบประกันสังคม
- นายจ้าง และลูกจ้างจะต้องจ่ายเงินสมทบ เมื่อไหร่ เท่าไหร่อย่างไร
- ลูกจ้างประเภทไหนบ้าง ที่นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบ ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างที่ยังไม่บรรจุลูกจ้าที่ต่ออายุการทำงาน
6. อัตราและวิธีการเรียกเก็บเงินสมทบของนายจ้างและลูกจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไร สิทธิประโยชน์ภายหลังการสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33
- แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอัตราเรียกเก็บเงินสมทบ และฐานในการคำนวณเงินสมทบ
7. กรณีลูกจ้างได้รับสิทธิหยุดงานเนื่องจากตั้งครรภ์เป็นเวลานานเมื่อกลับเข้าทำงานจะได้รับค่าจ้าง และการนับระยะเวลาทำงานต่อเนื่องหรือไม่
8. หน้าที่ของโรงพยาบาลตามสิทธิในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน
9. เรื่องลักษณะประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง และเรื่องประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ที่คณะกรรมการแพทย์จะพิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเพิ่มเติม ค่ารักษาพยาบาลกรณีใด? ที่ลูกจ้างสามารถเบิกได้สูงสุดถึง 2,000,000 บาท (ตามเงื่อนไข)
- การพิสูจน์...เพื่อจ่ายค่ารักษาพยาบาล กรณีจ่ายจริงตามความจำเป็นสูงสุดถึง 2,000,000 บาท (ตามเงื่อนไข)
10. แนวโน้มและผลกระทบที่เกิดขึ้น สําหรับเงินสมทบประกันสังคมอัตราใหม่ ที่คาดว่าจะมีการปรับเพิ่ม
11.7 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง
12.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง “อัตราค่ารักษาพยาบาล” ของกฎกระทรวงเดิม (พ.ศ.2551) และกฎกระทรวงใหม่ (พ.ศ.2558)
- กรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
- กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เพียงพอสำหรับกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยในลักษณะต่างๆ
13. หลักการและแนวทางการวางระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาล สำหรับนายจ้าง เจ้าของกิจการ
14. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน เพื่อประโยชน์ของนายจ้างและลูกจ้างในการบริหารจัดการ
15.กรณีการส่งตัวลูกจ้างเข้ารักษาพยาบาล
16.สิทธิการได้รับเงินทดแทน ภายหลังการสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง
17. สิทธิประโยชน์เงินทดแทนที่นายจ้างและลูกจ้างต้องทราบและปฎิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง
- ค่าทดแทนกรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือบาดเจ็บ
- ค่าทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะบางส่วนของร่างกาย
- ค่าทดแทนกรณีทุพพลภาพ
- ค่าทดแทนกรณีตายหรือสูญหาย
18.กรณีศึกษาที่น่าสนใจเกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน และหลักการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
19. ข้อแนะนำของฝ่ายบุคคล กรณีลูกจ้าง“เกษียณอายุการทำงาน” ในการเลือกรับเงินชดเชยค่าเกษียณอายุจากประกันสังคม
20.ถาม-ตอบปัญหา
|