วิทยากรโดย อาจารย์กัมพล ทรัพย์ปรุง
หัวข้อสัมมนา
1. ข้อควรปฏิบัติเมื่อถูกตรวจสอบภาษี - เมื่อได้รับหนังสือเชิญพบ - สรรพากรขอตรวจสภาพกิจการ - ได้รับหมายเรียก
2.อำนาจในการตรวจสอบของสรรพากรที่ผู้ประกอบการต้องรู้
3. วิธีการชี้แจงกรมสรรพากรกรณีถูกตรวจสอบแต่ละประเด็น - ประเด็นด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล/หัก ณ ที่จ่าย - ประเด็นด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม - ประเด็นด้านภาษีธุรกิจเฉพาะ/อากรแสตมป์ - สรรพากรรเชื่อมโยงข้อมูล CIT VAT และ SD/SBT อย่างไร - ถูกปรับรายได้จะกระทบกับ VAT หรือไม่ - สัญญาจะนำไปสู่การตรวจสอบของสรรพากรอย่างไร
4. ความสำคัญของ ต.6
5. เมื่อสรรพากรประเมินภาษีต้องปฏิบัติอย่างไร - วิธีการและแนวทางแก้ไขไม่ให้ถูกประเมินภาษี - ผู้ประกอบการต้องทำอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด - กรณีผุ้ประกอบการไม่เห็นด้วยต้องดำเนินการอย่างไร
6. คำวินิจฉัยภาษีและการอุทธรณ์ - กรณีต้องการอุทธรณ์ต้องทำอย่างไร - การเขียนอุทธรณ์ควรมีประเด็นอะไรบ้างให้สมบูรณ์ครบถ้วน - กรณีตัวอย่างคดีที่ผุ้เสียภาษีเขียนอุทธรณ์ไม่ครบจนเป็นเหตุให้แพ้คดี - หากประสงค์จะอุทธรณ์และไม่ต้องการชำระภาษีก่อนต้องทำอย่างไร - หากไม่มีเงินชำระภาษีจะมีผลอย่างไรมีแนวทางแก้ไขหรือไม่ - ในชั้นพิจารณาอุทธรณ์สามารถลดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มได้หรือไม่ - หากไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์และต้องสู้คดีในศาลต้องทำอย่างไร
7. การนำคดีภาษีขึ้นสู้ในชั้นศาล - สิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำในการรับมือกับสรรพากรและการขึ้นสู้คดีในชั้นศาล - มีกำหนดเวลาในการยื่นฟ้องคดีหรือไม่หากยื่นฟ้องไม่ทันต้องทำอย่างไร - การเตรียมคดีภาษีต้องเตรียมอะไรบ้างมีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร - ผู้ประกอบการสามารถเตรียมคดีภาษีเองได้หรือไม่ - ในชั้นยื่นฟ้องคดีต่อศาลหากไม่ประสงค์จะชำระค่าภาษีก่อนสามารถทำได้หรือไม่ - เมื่อคดีถึงที่สุดและผุ้เสียภาษีแพ้คดีจะถูกฟ้องล้มละลายอีกหรือไม่
8. เหตุผลในการฟ้องคดีของกรมสรรพากร
9. คดีตัวอย่าง ที่ชนะกรมสรรพากร และคดีที่แพ้กรมสรรพากรจากประสบการณ์ตรงของ ผู้บรรยาย - คดีตัวอย่างที่ไม่เคยเผยแพร่จากสรรพากร กรณีฟ้องเรียกดอกเบี้ย - เหตุแห่งการแพ้และชนะคดี - กรณีตัวอย่างคดีภาษีที่ผู้เสียภาษีผิดพลาด ในการตรวจสอบจนเป็นเหตุให้แพ้คดี - กรณีที่เป็นโจทก์ฟ้องสรรพากรและกรณีที่ถูกสรรพากรฟ้อง (จำเลย)
|