• เทคนิคหลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
• วิธีการจัดประเภทสินค้าให้เหมาะสมกับพิกัดอัตราศุลกากร
• หากมีปัญหาพิกัด ควรจะปฏิบัติอย่างไร
วิทยากรโดย อาจารย์เจนฤทธิ์ สระวาสี
หัวข้อสัมมนา
-
1. Update Harmonize System
2. เทคนิคหลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร • ความหมายของหมวด ตอน • วิธีการจำแนก 4 หลัก 8 หลัก
3. วิธีการจัดประเภทสินค้าให้เหมาะสมกับพิกัดอัตราศุลกากร • การจัดประเภทพิกัด • กรณีสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดต่างกัน มารวมเป็นสินค้าเดียวกัน จะจัดอยู่ในพิกัดใด • กรณีนำเข้าสินค้ายังไม่ครบชุดสมบูรณ์ จะเสียเข้าพิกัดใด
4. กรณีนำเข้า-ส่งออกสินค้า จะทราบได้อย่างไรว่าจัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทใด • วิธีการค้นหา หรือดูพิกัด ค้นหาอย่างไรได้บ้าง • ค้นหาจากระบบ Internet จะได้ข้อมูลที่ถูกต้องหรือไม่ • สามารถขอตรวจสอบความถูกต้องของพิกัดศุลกากรก่อนนำเข้า-ส่งออกได้หรือไม่
5. หากมีปัญหาพิกัด ควรจะปฏิบัติอย่างไร
6. เวลาที่ถูกเจ้าหน้าที่เข้าปรับ / ตรวจจับพิกัด ควรปฏิบัติอย่างไร
7. ปัญหาการให้ sipping เป็นผู้จำแนกพิกัด • กรณี shipping แจ้งพิกัดให้บริษัทฯ สำแดงผิดพลาด ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ • ในการสอบถามพิกัดล่วงหน้าตัวแทนออกของหรือ shipping สามารถกระทำการแทนผู้ประกอบการได้หรือไม่ • ในกรณี shipping ใช้ User ของตัวเองในการสอบถามพิกัดล่วงหน้าแต่เอกสารที่แนบเป็นชื่อบริษัทของผู้ประกอบการนำเข้าสามารถทำได้หรือไม่หากเกิดความผิดพลาดใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ • Shipping ทำใบขนสินค้าให้เสียอากรสูงกว่าความเป็นจริงสามารถทำเรื่องขอคืนอากรได้หรือไม่
8. กรณีที่ผู้ประกอบการทราบขณะดําเนินพิธีการนําของออกว่าของที่นําเข้ามานั้นสําแดงพิกัดผิดพลาดจะมีวิธีแก้ไขอย่างไรภาษีที่เสียไว้ (เกิน) สามารถขอคืนได้หรือไม่
9. สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องทราบเกี่ยวกับการตีความพิกัดศุลกากรล่วงหน้า • หากต้องการยกเลิกคำร้องสามารถทำได้หรือไม่ อย่างไร • หากกรมศุลกากรได้ชี้พิกัดแล้ว แต่นายด่านที่ตรวจปล่อยสินค้าไม่เห็นด้วยกับพิกัดดังกล่าวจะทำอย่างไร • กรณีผู้ประกอบการยังไม่ได้สั่งซื้อของ ไม่มีรายละเอียดสินค้า สามารถยื่นสอบถามพิกัดล่วงหน้าได้หรือไ่ม่
10. กรณีศุลกากรได้มีการชี้พิกัดล่วงหน้าแล้ว จะมีผลย้อนหลังกับสินค้าที่เคยนำเข้ามาหรือไม่ • หากผลการพิจารณาแตกต่างกับพิกัดที่เคยนำเข้า ผู้ประกอบการจะถูกเรียกเก็บภาษีย้อนหลังหรือไม่
11. ข้อควรระวังในการนำพิกัดมาใช้สำหรับการส่งออกสินค้าจากปัญหาจริงของผู้เชี่ยวชาญตรง
12. การเจตนาหลีกเลี่ยงที่จะเสียพิกัดในอัตราที่ถูกจะมีโทษอย่างไร
13. โทษสูงสุดของการจำแนกพิกัดไม่ถูกต้อง ทั้งเจตนาไม่เจตนา
-
เงื่อนไขการเข้าอบรม 1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User 2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที 3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน 4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม 5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม *** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***
เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้สอบบัญชีนับชั่วโมงไม่เป็นทางการ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง 2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
|