เตรียมรับมือ...ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล (จ.นครราชสีมา)

รหัสหลักสูตร : 21/03109P/2

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เตรียมรับมือ...ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

 

  • กฎหมายใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น ส่งผลกระทบกับผู้ประกอบการ นายจ้าง และ HR
  • กรณีไม่ปฏิบัติตามจะส่งผลกระทบอย่างไร
  • สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องเตรียมความพร้อมรับมือกับกฎหมายฉบับนี้ ต้องทำอย่างไรบ้าง
 

วิทยากรโดย อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์


หัวข้อสัมมนา

 

1. HR พนักงานทางด้านฝ่ายงานบริหารบุคคลที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง
ตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้

2. สาระสำคัญของร่าง พรบ.ที่มีผลกระทบต่อองค์กร (นายจ้าง)และ ฝ่าย HR
จะต้องเตรียมความพร้อมอย่างไร?

3. ทำไม? ต้องมีขอบเขตและวัตถุประสงค์ของสภาวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล

4. บทบาทอำนาจ หน้าที่ตามร่างกฎหมายฉบับนี้มีรายละเอียดอะไรบ้าง

5. คุณสมบัติของผู้ที่ต้องขึ้นทะเบียน (การขอกับสภาวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล)ที่จะเป็น

  • ผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล
  • ผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาต

6. "ผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาต" ต้องขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
บริหารทรัพยากรบุคคลจากสภาวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคลเท่านั้น
จึงทำงาน HRได้ใช่หรือไม่?

7. ใคร? คือ ผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล (HR) และ HR ต้องเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบริหาร ทรัพยากรบุคคลหรือไม่ ไม่เป็นได้หรือไม่

8. หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองมาตรฐานวิชาชีพ และใบอนุญาต

9. องค์กรและบุคคลที่ประกอบอาชีพ HR ไม่มีใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพฯ จะมีบทลงโทษอย่างไร

10.ทุกองค์กรต้องมีผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากร บุคคลหรือไม่ หากไม่มีจะได้รับโทษ ตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่เพียงใด

11.รายละเอียดอะไรบ้าง? ที่ทางสภาวิชาชีพ จะตรวจสอบองค์กรและ HR

12. คณะกรรมการจรรยาบรรณ ตาม(ร่าง)พระราช บัญญัติวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล

• คณะกรรมการ คือใคร? มีหน้าที่รับผิดชอบ เรื่องอะไร?

• หลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการอย่างไร? เกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

• มีหน้าที่และอำนาจในการดำเนินการ ด้านจรรยาบรรณกับผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลหรือไม่เพียงใด

13.การกํากับดูแล การประกอบวิชาชีพการบริหาร ทรัพยากรบุคคล มีวิธีการและมาตรการอย่างไร

14.บุคคลซึ่งปฏิบัติงานวิชาชีพบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR) ก่อนวันที่กฎหมายใช้บังคับให้ปฎิบัติหน้าที่ แต่ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องกระทำภายในระยะเวลาเท่าใดเพราะเหตุใด

15.นายจ้างหรือผู้ประกอบกิจการมีสิทธิ์ตรวจสอบคุณสมบัติ ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ ตนว่าจ้างหรือจะว่าจ้างได้อย่างไร มีปัญหาการตรวจ สอบขัดแย้งกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือไม่อย่างไร

16.ผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาตสามารถประกอบวิชาชีพ การบริหารทรัพยากรบุคคลและปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องต่างๆให้กับนายจ้าง และผู้ประกอบกิจการได้อย่างไรบ้าง

17.กรณีไม่ได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาตแต่ทำงาน ด้านบริหารทรัพยากรบุคคลจะมีสิทธิ์ทิหน้าที่และอำนาจ แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร

18.บทบาท หน้าที่อำนาจในการลงโทษของสภาวิชาชีพ บริหารทรัพยากรบุคคล ตาม (ร่าง) พระราชบัญญัติวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล

19.ถาม-ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

 
 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์

สถานที่

โรงแรมแคนทารี โคราช (จ.นครราชสีมา)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba