วิทยากรโดย อาจารย์คัตลิยา กุญชร ณ อยุธยา
หัวข้อสัมมนา
1. ทำไมต้องมีการตรวจนับคลังสินค้า
2. ใครบ้าง...ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตรวจนับสินค้าคงคลังประจำปี
3. รูปแบบของการตรวจนับสินค้าในคลัง
4. การเตรียมการและเตรียมพร้อมสำหรับการตรวจนับสินค้าและพัสดุคงคลัง
- การตรวจนับทั้งหมดในคราวเดียว (Physical Count)
- การตรวจนับแบบวนรอบ (Cycle Count)
5. การเตรียมการและเตรียมพร้อมสำหรับการตรวจนับสินค้าและพัสดุคงคลังในช่วงกลางปี
- ก่อนการตรวจนับ
- ณ วันตรวจนับ
- หลังการตรวจนับ
6. การสร้างความพร้อมเพรียง (TEAM WORK) และแรงจูงใจแก่บุคลากรในหน่วยงาน
7. เทคนิคการตรวจนับสินค้าและพัสดุแต่ละประเภทให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
- วัตถุดิบ (Raw material)
- สินค้าระหว่างผลิต (Work in process)
- สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods)
- อะไหล่ (Spare parts)
- สินค้าไม่ผ่านมาตรฐาน
- สินค้าเสียหาย
8. การเทียบยอด Stock cards กับยอดตรวจนับจริงและยอดทางบัญชี
9. การตรวจนับไป เบิกจ่ายไป กระทำได้หรือไม่อย่างไร
- กรณีทราบล่วงหน้าก่อนตรวจนับ
- กรณีขอเบิกเมื่อมีการตรวจนับ
10. ข้อแตกต่างของการตรวจนับประจำเดือน ประจำไตรมาส และประจำปีที่เด่นชัดและสำคัญ
- การเตรียมความพร้อมและสรุปผลสำหรับการตรวจนับในช่วงปลายปี
11. ปัญหาที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการตรวจนับสินค้าและพัสดุคงคลัง
- ปัญหาเอกสาร (Document)
- พฤติกรรมมนุษย์ (Human behavior)
- การวางมาตรฐานในการรับ
-จ่ายสินค้าของพนักงานคลังสินค้าเพื่อลดความเสียหาย
12. ตัวอย่าง สรุปผลการตรวจนับและเอกสารในการนับสต๊อก
- เอกสารในการตรวจนับสต๊อก
- เส้นทางในการตรวจนับสต๊อก
- แผนผังการจัดเก็บสินค้า
13. ผลการตรวจนับที่ให้มากกว่าการนับจำนวนทำให้ทราบข้อมูลของสินค้าต่อการวางแผนการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อลดการสูญเสีย
- สินค้าใกล้เสื่อมคุณภาพ
- สินค้าใกล้หมดอายุ
- สินค้าตกรุ่น ล้าสมัย
- สินค้าที่ต้องเร่งระบาย
14. สินค้าที่ไม่ได้อยู่ในคลังสินค้าจะตรวจนับอย่างไร
- สินค้าฝากขาย.
- สินค้าส่งซ่อม.
- สินค้าตัวอย่าง
15. การดำเนินการหลังการตรวจนับ กรณีเมื่อตรวจนับแล้ว พบปัญหาภายในคลัง จะต้องดำเนินการแก้ปัญหาหลังการตรวจนับอย่างไร
- การทำลาย การรับคืน การตัดยอดชำรุf การปรับปรุงยอด
- การจัดการกับของเหลือ และ เศษซาก ที่เป็น Dead Stock. Inventoryแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการตรวจนับ
16. ถาม - ตอบปัญหา
|