เจาะประเด็นกรอกแบบภ.ง.ด.50 จากผลประกอบการ 2566 ที่ต้องยื่นในปี 2567 พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร ที่ต้องระวังเป็นพิเศษ (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/1388Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,601 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 

เจาะประเด็นกรอกแบบภ.ง.ด.50 จากผลประกอบการ 2566 ที่ต้องยื่นในปี 2567 พร้อมจุดตรวจสอบของสรรพากร ที่ต้องระวังเป็นพิเศษ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

• หลักเกณฑ์ที่ต้องระวังเป็นพิเศษ!! ในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

• การยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล ค่าใช้จ่ายใดบ้าง? ถือเป็น "ค่าใช้จ่ายที่หักเพิ่มได้"

• สรรพากรมีวิธีการอย่างไรในการตรวจสอบ Stock สินค้าตกรุ่นล้าสมัย

• ปัญหาสินค้าคงเหลือไม่ตรงกับรายงานสินค้าและวัตถุดิ ทำอย่างไรไม่ให้เสี่ยงสรรพากรตรวจสอบ

 

วิทยากรโดย อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์


หัวข้อสัมมนา

1.เงินได้ที่ต้องเสียภาษีและการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ภ.ง.ด.50

  • รายได้จากกิจการ
  • รายได้เนื่องจากกิจการ
  • รายได้อื่น กำไรจากการจำหน่ายทรัพย์สิน, อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา, ดอกเบี้ยรับเงินปันผลหรือส่วนแบ่งกำไร, เงินชดเชยค่าภาษีอากร
  • รายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้หรือ ได้รับยกเว้นบางส่วน
  • กำไรสุทธิที่ต้องเสียภาษี ขาดทุนสุทธิ หรือรายรับก่อนหักรายจ่าย
  • ปัญหาเกี่ยวกับการคำนวณรายได้ 

2.ต้นทุนและรายจ่ายเพื่อกรอกแบบภ.ง.ด.50

  • ต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการผลิต/การให้บริการ
  • ต้นทุนวัตถุดิบ, และวัสดุที่ใช้ไป งานระหว่างทำ หรือสินค้าระหว่างผลิต
  • ค่าใช้จ่าในการขายและบริหาร
  • รายจ่ายที่เกี่ยวกับพนักงาน ลูกจ้าง/กรรมการ
  • การทำประกันกลุ่มให้พนักงาน ลงรายจ่ายได้หรือไม่
  • รายจ่ายเกี่ยวกับการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นยอดขาย หรือเรียกความเชื่อมั่น
  • รายจ่ายเนื่องจากการผิดสัญญา/ค่าเสียหาย/ค่าปรับจากการส่งมอบสินค้าหรือบริการล่าช้า
  • ค่าเสื่อม ค่าสึกหรอทรัพย์สิน และกรณีใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้เพิ่มขึ้น
  • ความแตกต่างบัญชีภาษี ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
  • การตัดหนี้สูญ/หนี้สงสัยจะสูญ จำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้

3.รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร

  • ค่ารับรองที่ให้เกินจะลงค่าใช้จ่ายอย่างไร
  • หนี้สูญกรณีใดที่ไม่สามารถตัดรายจ่ายได้

4.รายจ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้นตามหลักเกณฑ์สรรพากร

  • รายจ่ายเนื่องจากการบริจาค
  • ไม่เสียภาษีมีรายจ่ายจากการบริจาคได้หรือไม่

5.รายได้-รายจ่ายที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงแบบไม่ปกติ

  • รายได้เพิ่มมากขึ้น
  • รายได้หรือยอดขายลดลง/ ไม่มียอดขาย
  • รายได้ที่ค้างชำระ หรือไม่สามารถเรียกเก็บได้
  • รายจ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเลิกจ้าง, ค่าชดเชยตามกฎหมาย
  • มีโปรโมชั่นมากกว่าปกติ/ ขายขาดทุน
  • ขายสินค้าต่ำกว่าราคาทุน/ ราคาตลาด

6.ปัญหาและการตรวจสอบเกี่ยวกับ Stock สินค้าของกรมสรรพากร

  • Stock สินค้า ขายของ Online, Onsite
  • การยกยอดสินค้าระหว่างปี
  • สินค้าตกรุ่น ล้าสมัย, ค้าง Stock
  • สินค้าไม่สามารถเรียกคืนได้

7.การตรวจสอบของสรรพากร จาก ภ.ง.ด.50 ที่ต้องระวังเป็นพิเศษ

  • สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น/ผู้เป็นหุ้นส่วน

8.การกระทบยอด ภ.ง.ด.50, ภ.ง.ด.53, ภ.พ.30 จากรายได้และค่าใช้จ่ายในสภาวะไม่ปกติ

9.ผลกระทบต่อการประมาณการรายได้ภ.ง.ด.51 ที่คลาดเคลื่อน

  • เหตุอันสมควรในการลดหรืองด เงินเพิ่ม
  • การปรับปรุง ภ.ง.ด 51 เพื่อลดเงินเพิ่ม
  • ระยะเวลาที่เหมาะสมในการปรับปรุง ภ.ง.ด 51 เพื่อลดเบี้ยปรับเงินเพิ่ม

10.กรณีเลิกประกอบกิจการระหว่างปีก่อนยื่นแบบภ.ง.ด.50 ต้องทำอย่างไร

 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand) หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba