วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
1.สรุปสาระสำคัญและ พ.ร.บ. e-Payment
2.ระบบ e-Payment ที่เกี่ยวข้องกับ
2.1 การรับเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
- จากรายได้ที่หน่วยงานขายสินค้าหรือให้บริการประชาชน
- รับคืนเงินเหลือจ่ายที่ยืม และการรับคืนเงินงบประมาณที่จ่ายไปแล้วจากบุคลากรในสังกัดหรือ บุคคลภายนอก
- การรับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน
- การรับเงินและการนำเงินนอกงบประมาณฝากคลัง
- การรับคืนเงินเหลือจ่ายที่ยืม
- การรับคืนเงินงบประมาณที่จ่ายไปแล้ว
- การรับคืนเงินนอกงบประมาณฝากคลังที่จ่ายไปแล้ว
- ให้ตัวกลางรับเงินแทนต้องออกใบกำกับภาษี หรือใบรับเงินอย่างไร
2.2 ช่องทางการรับชำระเงิน
2.3 การจ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
- การจ่ายเงินเพื่อเป็นเงินสวัสดิการ ค่าตอบแทน หรือกรณีอื่นใด
- การจ่ายเงินของส่วนราชการสำหรับการซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน
- การจ่ายเงินเพื่อชดใช้คืนเงินทดรองราชการ
- การจ่ายเงินยืม
- การจ่ายเงินค่าจ้างตามสัญญาจ้างเหมาบริการจากบุคคลธรรมดา
- การจ่ายเงินเพื่อชำระหนี้บุคคลที่สามที่มีกฎหมายอนุญาตให้จ่ายได้
3.การนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และระบบ e–Withholding Tax ที่สัมพันธ์กับระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
- การยื่นแบบ ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.1 ก และ ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ผ่านระบบ e-filing และ ระบบ e-withholding tax
- การจ่ายเงินให้บุคคลภายนอก
- การจ่ายเงินตามสัญญาต่างๆ ทั้งบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
4.การจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice)ใบรับอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) สำหรับหน่วยงานที่ขายสินค้าและให้บริการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
- รูปแบบและวิธีการยื่นคำขอจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษา
5.e-stamp 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสัญญาของหน่วยงานภาครัฐ
6.หลักเกณฑ์ วิธีการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน,หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทางภาษี ใบกำกับภาษี ใบรับ และเอกสารอื่น ที่ต้องมี จัดทำ หรือใช้ตามกฎหมายของกรมสรรพากร (e-Filing)
6.1 เอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายภาษีอากร
- แบบ
- รายงาน
- บัญชี
- ใบกำกับภาษีใบรับ เอกสารหรือหนังสืออื่นใด
6.2 e-Filing การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร
- การยื่นรายการหรือเอกสารและการจัดทำเอกสารโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
- สรุปกระบวนการจัดทำและนำส่งเอกสารผ่านระบบ e-filing กรมสรรพากร
- ประเภท ลักษณะ รูปแบบการระบุและการพิสูจน์ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
- การจัดทำให้เอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใช้ได้ถูกต้องครบถ้วน และใช้อ้างอิงได้ภายหลัง
- ลักษณะของระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องเตรียมเพื่อเชื่อต่อระบบอิเล็กทรอนิกส์กับของกรม สรรพากร
- วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาในการจัดเก็บ และรักษาความมั่นคงปลอดภัยของเอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
|