- ข้อดีของการจัดทำ Consolidate Financial Statement
- การจัดทำงบการเงินรวมและการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
- สรุปประเด็นมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินรวม
วิทยากรโดย รศ.สุชาติ เหล่าปรีดา
หัวข้อสัมมนา
1. สรุปประเด็นสำคัญมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินรวม - กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (PAEs) - กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)
2. สถานการณ์ที่กิจการต้องจัดทำงบการเงินรวม
3. ข้อดีของการจัดทำ Consolidate Financial Statement
4. การจัดทำงบการเงินรวมและการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
5. ขั้นตอนและวิธีการในการจัดทำงบการเงินรวม - การรวมรายการที่เหมือนกันของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย - การตัดรายการระหว่างกันในกลุ่มกิจการ - การตัดมูลค่าเงินลงทุนของบริษัทใหญ่ในบริษัทย่อยแต่ละรายการและส่วนของเจ้าของในบริษัทย่อยที่บริษัทใหญ่ที่ถืออยู่
6. การแสดงรายการเกี่ยวกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุมในงบฐานะการเงินรวม และ การแสดงรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุมในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม
7. กระดาษทำการสำหรับจัดทำงบการเงินรวม
8. ตัวอย่าง การจัดทำงบฐานะการเงินรวม - กรณีบริษัทใหญ่ซื้อหุ้นในบริษัทย่อยทั้งหมด (100%) - กรณีบริษัทใหญ่ซื้อหุ้นในบริษัทย่อยบางส่วน
9. สรุปประเด็นปัญหาสำคัญที่พบในการจัดทำงบการเงินรวม
10. แนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการจัดทำงบการเงินรวม
11. Workshop Consolidate Financial Statement
12. การคำนวณกำไรที่รับรู้ในกำไรหรือขาดทุนภายหลังการขายหุ้นกิจการ
13. แนวปฏิบัติเมื่อกิจการสูญเสียอำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย
14. การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย
15. ตัวอย่างของงบการเงินรวมเพื่อประกอบความเข้าใจ - บริษัทใหญ่ถือว่ามีอำนาจในการควบคุมกิจการอื่นในกรณีต่างๆ - การประเมินว่ากิจการมีอำนาจในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของกิจการอื่นหรือไม่
16. เทคนิคการวิเคราะห์งบการเงินรวมจากตัวอย่างงบการเงินรวมจริง เพื่อวิเคราะห์กิจการและนำเสนอให้ผู้บริหารเข้าใจการวิเคราะห์งบการเงินรวม
17. การใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์งบการเงินรวม
18. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|