• กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย หรือเงินอื่นๆ ที่กฎหมายให้จ่ายแก่ลูกจ้าง แต่นายจ้างไม่จ่าย จะต้องจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไหร่
• อัตราค่าชดเชยเพิ่มเติม กรณีนายจ้างเลิกจ้างสำหรับลูกจ้าง ที่ทำงานติดต่อ 20 ปี จะต้องได้รับสิทธิค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
• สาเหตุสําคัญ ของการปลดออก ไล่ออก ลาออก และประเภทการพ้นสภาพ จากการเป็นพนักงานที่ลูกจ้างไม่ทราบ
• ประเภทและขั้นตอน ของการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย และสามารถเลิกจ้างพนักงาน โดยเป็นการเลิกจ้างอย่างเป็นธรรม
• กรณีลูกจ้างพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานมีกรณีอะไรบ้าง? จะต้องจ่ายเงินประเภทใด? จ่ายเงินอย่างไร?
บรรยายโดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
หัวข้อสัมมนา
1. ความหมายและวัตถุประสงค์ของวินัยและการลงโทษทางวินัย ▪ ความหมายของ “วินัย” และ “วินัยเกี่ยวกับการทำงาน” ▪ การโยกย้าย ลดตำแหน่งหน้าที่ เป็นการลงโทษทางวินัยหรือไม่ ▪ วัตถุประสงค์ของวินัย และการลงโทษทางวินัย 2. วินัยและการลงโทษเกี่ยวข้องกับข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานอย่างไร? 3. ประเภทของวินัยเกี่ยวกับการทำงาน มีความหมายอย่างไร? 4. ขอบเขตของวินัยเกี่ยวกับการทำงาน เพื่อความจำเป็นและเหมาะสม ในการทำงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ▪ วินัยทางด้านสถานที่ ▪ วินัยของวันเวลาทำงาน ▪ วินัยเกี่ยวกับความจำเป็น 5. วินัยที่่ดีมีลักษณะอย่างไร? ถูกใจและถูกต้อง ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง ▪ ชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติได้ ▪ สอดคล้องกับการทำงาน ▪ ถูกต้องตามกฎหมาย 6. อะไร? คือสาเหตุของการฝ่าฝืนวินัย จุดบอดของ HR ที่จะต้องระมัดระวัง 7. ประเภทของการลงโทษทางวินัย มีอะไรบ้าง? จะต้องดำเนินการอย่างไร ให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน ▪ ตักเตือนด้วยวาจา ต้องทำเป็นหนังสือหรือไม่อย่างไร ▪ ตัด หรือ ลด สิทธิประโยชน์ทางด้านใดได้บ้าง ▪ การลงโทษพนักงานด้วยการภาคฑัณฑ์ ▪ การลงโทษด้วยการพักงาน สามารถทำได้ต่อเมื่อลูกจ้างทำผิดสาเหตุใดบ้าง ▪ การเลิกจ้าง 8. หลักการในการกำหนดความผิดและโทษทางวินัย ควรจะต้องใช้หลักใด ในการกำหนดความผิด ▪ เลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ▪ ตัวอย่างการกำหนดวินัย ▪ จำนวนครั้งของการทำผิด 9. ขั้นตอนการลงโทษพนักงานที่ทำผิดวินัย มีขั้นตอนอย่างไร? ▪ การรวบรวมหลักฐานที่มีอยู่ - พยานหลักฐาน (พยานบุคคล พยานเอกสาร) ▪ คณะกรรมการสอบสวนลงโทษทางวินัย - การพักงานลูกจ้าง ขณะสอบสวน ▪ ลูกจ้างทำผิดซ้ำคำเตือน 10. การลงโทษทางวินัย (ขั้นสูงสุด) การเลิกจ้าง (Dismissal) จะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อป้องกันลูกจ้างฟ้องร้องภายหลัง ▪ กรณีใดบ้าง? ที่นายจ้างสามารถเลิกจ้าง (ไล่ออก) ได้อย่างถูกต้อง ▪ การจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษต่างๆ ที่นายจ้างต้องจ่ายลูกจ้าง 11. HR ต้องทำการตรวจสอบเรื่องวินัย ขาด ลา มาสาย แต่งกายผิดระเบียบ มาสายกลับก่อน ทะเลาะวิวาท ดื่ม สุรา ฯลฯ ของพนักงานในสถานที่ทำงาน 12. กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย หรือเงินอื่นๆ ที่กฎหมายให้จ่ายแก่ลูกจ้างแต่นายจ้างไม่จ่าย จะต้องจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไหร่
|