• การวางระบบการบริหารบัญชีทรัพย์สินและการวางระบบควบคุม • การแยกค่าใช้จ่ายใดถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องคิดค่าสึกหรอ ค่าเสื่อมราคา • การจำหน่ายทรัพย์สิน การทำลายทรัพย์สินและการบันทึกบัญชีขายทรัพย์สินที่ยังหักค่าสึกหรอค่าเสื่อมราคา
วิทยากรโดย อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล
หัวข้อสัมมนา
1. การวางระบบบัญชีทรัพย์สินและการควบคุม - การตั้งรหัสทรัพย์สิน - การจัดทำบัตรทรัพย์สิน - การตรวจนับทรัพย์สิน - ทรัพย์สินที่มีราคาตํ่าแต่ปริมาณมาก - การโอนทรัพย์สินระหว่างฝ่ายหรือระหว่างบริษัท
2. มูลค่าของทรัพย์สินและการตีราคาทรัพย์สิน - ราคาทุนของทรัพย์สินประกอบด้วยอะไรบ้าง - การคำนวณต้นทุนและการกำหนดประเภทของที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ - การได้มาซึ่งทรัพย์สินจากการเช่าซื้อ ลิสซิ่ง ผ่อนชำระการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ - มูลค่าของทรัพย์สินการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น จากการซ่อมบำรุง ถือเป็นทรัพย์สินหรือ ค่าใช้จ่าย - ซื้อทรัพย์สินเป็นเงินตราต่างประเทศ - แนวปฏิบัติเมื่อเกิดการด้อยค่าของสินทรัพย์และการวัดมูลค่าของสินทรัพย์
3. หลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าค่าใช้จ่ายใดถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องคิดค่าเสื่อมราคาและหลักเกณฑ์ใดที่ถือเป็นค่าใช้จ่ายในรอบบัญชีทั้งจำนวนตามหลักบัญชี - ดอกเบี้ยจากการกู้ยืม เพื่อซื้อทรัพย์สิน - การนำทรัพย์สินเข้ามาใช้ในกิจการ - การจำหน่ายทรัพย์สินและการทำลายทรัพย์สิน - ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงทรัพย์สินหรือเคลื่อนย้ายทรัพย์สิน
4. การคิดค่าเสื่อมราคา ค่าสึกหรอ - หลักเกณฑ์การบันทึกบัญชี กรณีการคิดค่าเสื่อมราคาค่าสึกหรอ ด้วยวิธีเส้นตรงตามมาตรฐาน การบัญชี - การบันทึกบัญชี ขายทรัพย์สินที่ยังหักค่าเสื่อมราคาไม่หมด - การวัดมูลค่าในการคิดค่าเสื่อมของสินทรัพย์ใหม่ - การสิ้นสุดการคิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ - การคำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ - การคิดค่าเสื่อมราคารวมเป็นกลุ่ม
5. หลักเกณฑ์การพิจารณารายจ่ายของกิจการจากต้นทุนทรัพย์สิน
6. หลักเกณฑ์การลงบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม
7. การบันทึกบัญชีการแยกส่วนประกอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
8. คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|