เกณฑ์คงค้าง ปัญหาการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของกิจการ NPAEs
วิทยากรโดย : อาจารย์สุรีรัตน์ โชติพันธ์วิทยากุล
หัวข้อสัมมนา1.เกณฑ์คงค้างกับรายงานทางการเงิน- ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐานของข้อมูลในรายงานทางการเงินตามกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน มีความสัมพันธ์กันอย่างไร- เกณฑ์คงค้างกับเกณฑ์สิทธิ์ ความเหมือนที่แตกต่าง- สินทรัพย์ทางการเงิน และสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน คืออะไร- การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน และสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน2.เกณฑ์คงค้างกับสินทรัพย์ทางการเงิน- การแบ่งประเภทของเงินลงทุน กับวิธีการนำเสนอมูลค่าในรายงานทางการเงิน- หลักทรัพย์ที่อยู่ในความต้องการของตลาด กับหลักทรัพย์ที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด แตกต่างกันอย่างไร- ความสัมพันธ์ของลูกหนี้การค้ากับรายได้จากการขาย หรือการให้บริการ- หนี้สงสัยจะสูญ3.เกณฑ์คงค้างกับสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน3.1 เกณฑ์คงค้างกับสินค้าคงเหลือ- มูลค่าของสินค้าคงเหลือในส่วนที่เป็นวัตถุดิบ งานระหว่างทำ สินค้าสำเร็จรูป จะตัดยอดปริมาณ และมูลค่า ณ วันสิ้นงวดอย่างไร- การเคลื่อนไหวในรายงานสินค้าคงเหลือ สัมพันธ์กับเงื่อนไขการขาย และเงื่อนไขการสั่งซื้ออย่างไร- การตัดยอดบิลขายสินค้า หรือบิลจากการให้บริการใบสุดท้ายดูอย่างไร- การตัดยอดบิลซื้อทำอย่างไรให้ได้ยอดตามความหมายเกณฑ์คงค้าง- ส่วนลดจากการซื้อ ต้นทุนการกู้ยืม จะต้องรวมเป็นต้นทุนต่อหน่วยของสินค้าคงเหลือในรอบระยะเวลาบัญชีใด3.2 ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์- การตัดยอดสินทรัพย์ถาวรที่พร้อมใช้ กับสินทรัพย์ถาวรที่อยู่ในระหว่างการจัดซื้อ หรือก่อสร้าง ทำอย่างไรให้ครบถ้วน- การเปลี่ยนแปลงอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ผลกระทบต่อการบันทึกค่าเสื่อมราคาในรอบระยะเวลาบัญชี- ที่ดินกับการคิดค่าเสื่อมราคา ทำอย่างไร4.เกณฑ์คงค้างกับหนี้สิน ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น- ประมาณการรายการหนี้สินอย่างไรให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน- ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร หรือเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านบริหาร ที่ค้างจ่าย ณ วันสิ้นงวด- การขอผ่อนผันการชำระหนี้กับเจ้าหนี้ หรือการปรับโครงสร้างหนี้ของกิจการ กิจการจะต้องปรับปรุงรายการทางบัญชีในรายงานทางการเงินอย่างไร5.เทคนิคการแก้ปัญหาการจัดทำรายงานทางการเงินให้สอดคล้องกับเกณฑ์คงค้าง- การจัดทำรายละเอียดประกอบรายการคงเหลือในงบแสดงฐานะการเงิน- รายการข้ามงวดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน หรืองบกำไรขาดทุน- การทำความเข้าใจกับหน่วยงานภายในเพื่อจัดการรายได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น- รายการค้างรับ ค้างจ่ายต้นงวดบัญชี กับการปรับปรุงรายการทางบัญชีสิ้นปี6.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี