วิทยากรโดย อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
หัวข้อสัมมนา
1. ความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องกระทบยอด 2. ความแตกต่างรายการทางภาษี กับ งบการเงินในการจัดทำรายการงานกระทบยอดและผลกระทบต่องบการเงิน 3. ข้อพิจารณาความแตกต่างของ ภ.ง.ด.50 , ภ.พ.30 และ ภ.ง.ด.53 พร้อมยกตัวอย่าง 4. สาเหตุของการที่จะต้องกระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 - เหตุจากรายได้และจุด Tax Point - เหตุจากการประกอบธุรกิจ - เหตุจากค่าใช้จ่าย 5. รายได้ที่ต้องเสียและไม่ต้องเสียใน ภ.ง.ด.50 VS ภ.พ.30 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี - ความแตกต่างของการรับรู้รายได้จากขายสินค้า/ให้บริการ มีความแตกต่างอย่างไร - ข้อเท็จจริงไม่ได้ขาย แต่กฎหมายถือเป็นการขายมีภาระภาษีอย่างไรและมีผลต่อการกระทบยอดทางภาษีหรือไม่ - รายได้ของกิจการนำเข้า-ส่งออกที่ ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 ที่มีความแตกต่าง - บริจาคสินค้า/ทรัพย์สิน ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 ต่างกันอย่างไร - ค่าปรับ/สินไหม/ค่าเสียหาย มีผลกับ ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ. 30 อย่างไร - เงินช่วยเหลือ เงินให้เปล่า ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้หรือไม่ - นำสินค้า/บริการไปใช้ในกิจการของตนเองต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้หรือไม่ - ดอกเบี้ย เงินปันผล ต้องนำส่ง ภ.พ. 30 หรือไม่ - รายได้จากกิจการที่ไม่เสีย VAT แต่เสียภาษีเงินได้ - ฝากขาย กรณีทำสัญญาและไม่ทำสัญญาภาระภาษีต่างกันอย่างไร - รายได้ขนส่งอย่างเดียวกับขายพร้อมขนส่งจะมีผลกับ ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 อย่างไร - สินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 ต้องตรงกันหรือไม่ - ให้สินค้าทดลองใช้ให้ลูกค้าต้องรับรู้รายได้หรือไม่และภาษีมูลค่าเพิ่มต้องนำส่งหรือไม่ หากไม่ต้องการนำส่งจะปฏิบัติอย่างไร - การทำลายสินค้าถ้ากรณีที่แจ้งและไม่แจ้งเจ้าหน้าที่สรรพากรเสียภาษีต่างกันหรือไม่ 6. ภ.พ 30 VS ภ.ง.ด.53, ภ.ง.ด.54 และ ภ.พ.36 รายได้ -รายจ่าย ที่ต้องกระทบยอด - การจ่ายเงินไปต่างประเทศกรณีบริการอยู่นอกราชอาณาจักร - จ่ายค่าสินค้าโดยสินค้าอยู่นอกประเทศและส่งให้ลูกค้านอกประเทศ - กรณีจ่ายเงินค่าบริการไปต่างประเทศและนำบริการมาใช้ในไทย - บริษัทต่างประเทศส่งคนเข้ามาบริการในไทยจะต้องหัก ณ ที่จ่าย หรือไม่ จะกระทบยอด ภ.ง.ด.53 กับ ภ.พ.30 อย่างไร 7. ภ.พ.30 VS ภ.ง.ด.50, ภ.ธ.40 ต้องกระทบยอดด้วยหรือไม่ - รายได้ที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะไม่ต้องเสีย VAT ทุกกรณีหรือไม่ - ดอกเบี้ยที่ได้รับจากการให้กู้ยืม ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะหรือไม่กรณีใดบ้างที่ไม่ต้องเสีย ภธ.40 - กู้ยืมจากกรรมการโดยกรรมการไม่คิดดอกเบี้ย 8. กรณีสรรพากรให้ปรับยอดภ.พ.30 และ ภ.ง.ด.50 ให้เท่ากันจำเป็นต้องทำตามหรือไม่ - หากทำตามที่สรรพากรแนะนำจะมีผลกระทบอย่างไร 9. การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อจัดทำรายการกระทบยอด 10. ประเด็นการตรวจสอบของสรรพากรจากการยื่นแบบ ภ.พ.30 , ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.53 , ภ.ง.ด.54 , ภ.พ.36 , ภธ.40 11. รายได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน PAEs & NPAEs กับ ผลกระทบในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในแบบ ภ.ง.ด.50 - ความแตกต่างของรายได้ใน TFRS กับ ภ.ง.ด.50 - การกระทบยอด TFRS กับ ภ.ง.ด.50 - การจัดทำรายงานกระทบยอด TFRS กับ ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 13. เทคนิคการเขียนรายการกระทบยอดเพื่อการเสียภาษีและการยื่นแบบอย่างถูกต้อง 14. Workshop วิธีการเขียนรายงานการกระทบยอดเพื่อ.ตรวจสอบความถูกต้องและใช้ชี้แจงเมื่อสรรพากรขอตรวจสอบ - รายได้ ภ.ง.ด. 50 และ ภ.พ. 30 ไม่ท่ากัน
เงื่อนไขการเข้าอบรม 1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User 2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที 3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน 4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม 5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม *** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***
เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้สอบบัญชีนับชั่วโมงไม่เป็นทางการ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง 2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
|