เจาะกฎหมายสำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันทั้งในไทยและต่างประเทศ (Transfer Pricing)

รหัสหลักสูตร : 21/8328/6

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,885 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,955 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

-


Update...เจาะกฎหมายสำหรับนิติบุคคล
ที่มีความสัมพันธ์กันทั้งในไทยและต่างประเทศ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.


วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ


หัวข้อสัมมนา

1. Update กฎหมายที่เกี่ยวกับ Transfer Pricing
2. การพิจารณาหลักความสัมพันธ์ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามกฎหมาย Transfer Pricing
- การพิจารณาเรื่องการถือหุ้นมีหลักเกณฑ์อย่างไร
- การถือหุ้นทางตรง ทางอ้อมพิจารณาอย่างไร
- การถือหุ้นของสามีภรรยามีผลอย่างไร
- การจัดการ การควบคุม มีผลต่อการพิจารณาความสัมพันธ์หรือไม่
- การมีข้อกําหนดด้านพาณิชย์หรือด้านการเงินระหว่างบริษัทในเครือ
3. การจัดทำรายงานข้อมูลความสัมพันธ์กันมีวิธีการจัดทำอย่างไร
- เอกสารที่ใช้ในการจัดทำ
- กิจการที่ต้องจัดทำและกิจการที่ได้รับยกเว้น
4. รายงานที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต้องจัดทำ
- Disclosure Form
- Local File
- Master File
- Country-by-Country Report
5. การกำหนดราคาโอนกับหลักการของ “Arm’s length principal”
6. วิธีการเลือกกำหนดราคาโอนที่เหมาะสมกับธุรกิจและสรรพากรยอมรับ
- Comparable Uncontrolled Price Method
- Resale Price Method
- Cost Plus Method
- Transactional Net Margin Method (TNMM)
- Profit-Split Method (PSM)
- สิ่งที่นักบัญชีต้องระมัดระวังในการเลือกราคา
- เมื่อเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งแล้วจำเป็นต้องใช้วิธีนั้นตลอดไปหรือไม่
7. วิธีการปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของสรรพากร (Adjustment)
- Primary Adjustment
- Corresponding Adjustment
- Secondary Adjustment
8. เอกสารหลักฐานและรายละเอียดที่ต้องจัดทำสำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน (Local file, Master file,Country by Country Report)
- โครงสร้างของนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันต้องจัดทําอย่างไร
- กลยุทธ์ทางธุรกิจจำเป็นต้องส่งให้สรรพากรหรือไม่
- กรณีมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างธุรกิจเล็กน้อยต้องแจ้งสรรพากรหรือไม่
- ต้องจัดทำรายชื่อคู่ค้าและคู่แข่งทางการค้าด้วยหรือไม่
- นโยบายการกำหนดราคาต้องจัดทำอย่างไร
- วิธีการกำหนดราคาที่เลือกใช้จำเป็นต้องเหมือนกันทุกธุรกรรมหรือไม่
- เอกสารที่ยื่นให้สรรพากรสามารถจัดทำเป็นภาษาอังกฤษได้หรือไม่
- Country by Country Report ใครเป็นผู้จัดทำ
- รายงานข้อมูลที่ต้องยื่นพร้อมกับแบบภ.ง.ด. 50 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- การจัดทํารายงานธุรกรรมหากยังไม่ทราบมูลค่ารวมต้องทําอย่างไร
9. วิธีการจัดทํารายงานและรายได้ที่ต้องยื่น Disclosure Form
- การยื่น Disclosure Form มีวิธีการยื่นอย่างไร
- รายได้ตามหลักบัญชีหรือภาษีอากร
- รายได้ที่ยังไม่ได้รับในปีต้องนํามารวมเป็นฐาน 200 ล้านด้วยหรือไม่
- ปีก่อนรายได้ถึง 200 ล้าน ปีปัจจุบันรายได้ต่ำว่า 200 ล้าน ต้องยื่นรายงานหรือไม่
- ในระหว่างปีผู้ถือหุ้นเกิดขายหุ้นไปทําให้ไม่ถึง 50 % ถือว่ายังต้องนําส่งรายงานหรือไม่
10. บริษัทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องทํารายงาน Transfer Pricing Documentation มีหลักเกณฑ์อย่างไร
11. ประเด็นที่สรรพากรจะมองว่าเป็นการถ่ายโอนกําไรระหว่างกันมีประเด็นใดบ้าง
- การซื้อขายสินค้า/ให้บริการ
- การจ่ายค่านายหน้า ค่าเช่า บริการทางบัญชีกฎหมาย
- การให้คําปรึกษาทางการเงิน
- การจัดอบรม
- การจ่ายเงินปันผล
- การโอนจ่ายค่า Management fee ให้กับบริษัทแม่ที่ต่างประเทศ
- การนําเข้าสินค้าที่ใกล้หมดอายุ
- การโอนทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่าง เช่น ค่าลิขสิทธิ์ ค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์
- การจ่ายค่า R&D
- การกู้ยืมเงินระหว่างกัน
12. การขอคืนภาษีกรณีที่ถูกสรรพากรลดรายจ่ายลง (Tax Refund)
- ขอคืนได้ภายในกี่ปี
- จะใช้แบบใดในการขอคืน
- กรณีถูกปรับรายได้หรือรายจ่ายหากมีภาษีที่ต้องขอคืนสรรพากรจะตรวจสอบหรือไม่
- สามารถใช้หลักการขอคืนตามอนุสัญญาภาษีซ้อนได้หรือไม่
13. บทลงโทษกรณีไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด
- ไม่ได้ยื่นรายงาน หรือยื่นไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

สถานที่

โรงแรมอวานี รัชดา กรุงเทพฯ (ชื่อเดิม รร.แกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ)
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba