• แนวทางในการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อสร้างความสามารถในการทำกำไร • การวิเคราะห์และการบริหารเงินทุนหมุนเวียนกับความสามารถในการทำกำไร • การจัดทำงบประมาณเงินสดเพื่อควบคุมกระแสเงินสดหมุนเวียน งบกระแสเงินสดกับการแสดงสภาพคล่องของกิจการ
วิทยากรโดย ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์
หัวข้อสัมมนา
1. แนวทางในการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อสร้างความสามารถในการทำกำไร - สาเหตุที่ทุนหมุนเวียนส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไร - ผลกระทบของต้นทุนในการถือครองสินทรัพย์หมุนเวียนต่อความสามารถในการทำกำไร - การสร้างโอกาสในการลงทุนระยะสั้นเพื่อได้รับผลตอบแทน
2. นักบัญชีกับการบริหารสภาพคล่อง
3. กลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนหมุนเวียน Working capital management (WCM)
4. การจัดการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อป้องกันและลดโอกาสการเกิดปัญหาสภาพคล่อง
5. การวิเคราะห์และการบริหารเงินทุนหมุนเวียนกับความสามารถในการทำกำไร - วงจรเงินสด (Cash Conversion Cycle) การพิจารณาสภาพคล่องของธุรกิจ - อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) - อัตราสินทรัพย์หมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม (Current Assets to Total Assets) - อัตราส่วนหนี้สินหมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม (Liability Current to Total Asset Ratio) - อัตราส่วนยอดขายต่อสินทรัพย์หมุนเวียน (Net Sale to Current Assets) - อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) - ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) - อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) - ระยะเวลาในการจำหน่าย (ขาย) สินค้า
6. การวิเคราะห์วงจรการดำเนินงาน (Operating Cycle) และวงจรเงินสด (Cash Conversion Cycle) - การคาดหมายเกี่ยวกับความสามารถในการสร้างกำไรและการกระจายตัวของสินทรัพย์และรอบหมุน - การวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาของสินค้าคงเหลือที่มีผลต่อการดำเนินงานและวงจรเงินสด - การวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาลูกหนี้การค้าต่อการดำเนินงานและวงจรเงินสด - การวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาเจ้าหนี้การค้าต่อการดำเนินงานและวงจรเงินสด
7. นโยบายการจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อนำามาลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน (Current Asset Financing Policy) - นโยบายการจัดหาแหล่งเงินทุนให้สอดคล้องกับแหล่งที่นำเงินไปลงทุน (Self- Liquidating Financing Approach) - นโยบายการจัดหาแหล่งเงินทุนแบบความเสี่ยงสูง หรือนโยบายเชิงรุก (Aggressive Financing Approach) - นโยบายการจัดหาแหล่งเงินทุนแบบความเสี่ยงต่ำ (Conservative Financing Approach) - เงินไม่ใช่สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
8. ประเภทของเงินทุนหมุนเวียน (Permanent Working Capital) - เงินทุนหมุนเวียนถาวรหรือประจำ (Permanent Working Capital) - เงินทุนหมุนเวียนผันแปรหรือชั่วคราว (Temporary Working Capital)
9. ความสมดุล 3 ลักษณะเงินทุนหมุนเวียน - เงินทุนหมุนเวียนเป็นศูนย์(Zero Position) - เงินทุนหมุนเวียนเป็นบวก(Positive Position) - เงินทุนหมุนเวียนเป็นลบ (Negative Position)
10. การจัดทำงบประมาณเงินสดเพื่อควบคุมกระแสเงินสดหมุนเวียน - เงินสดรับ (Cash Receipts) - เงินสดจ่าย (Cash Disbursements) - เงินสดคงเหลือขั้นต่ำ (Minimum Cash Balance)
11. การวิเคราะห์งบกระแสเงินสดกับการแสดงสภาพคล่องของกิจการ - กิจกรรมดำเนินงาน - กิจกรรมลงทุน - กิจกรรมจัดหาทุน
12. การหาตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เพื่อเป็นตัวสะท้อนความยั่งยืนให้กับกิจการ - ความพอเพียงของกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Cash Flow Adequacy) - ดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Operating Cash Index)
13. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณและส่วนประกอบของเงินทุนหมุนเวียน
14. ข้อห้ามการบริหารเงินทุนหมุนเวียนธุรกิจ
15. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|