ปัญหาการตรวจสอบสูตรการผลิต การจัดทำรายงาน การผลิตและส่วนสูญเสียที่สรรพากรยอมรับ

รหัสหลักสูตร : 21/1652

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ปัญหาการตรวจสอบสูตรการผลิต การจัดทำรายงาน

การผลิตและส่วนสูญเสียที่สรรพากรยอมรับ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPA สามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้
  • ถ้าสรรพากรประเมิน จะเตรียมเอกสารและข้อเท็จจริงอย่างไร?

     

วิทยากรโดย อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

หัวข้อสัมมนา

  1. สูตรการผลิตที่สรรพากรยอมรับ
    • สูตรการผลิตคืออะไร
    • ธุรกิจใดบ้างที่ต้องมีสูตรการผลิต
    • สูตรการผลิตของกิจการได้มาอย่างไร
    • จำเป็นหรือไม่ที่ต้องมีสูตรการผลิตให้สรรพากรตรวจสอบ
    • การเริ่มประกอบการปีแรก, เปลี่ยนเครื่องจักรชุดใหม่กับปัญหาในการหาสูตรการผลิต
  2. การจัดทำเอกสารควบคุมการผลิตของธุรกิจเพื่อกระทบต้นทุนการผลิตและแสดงต่อสรรพากรเมื่อมีการตรวจสอบ
    • การบันทึกรายการวัตถุดิบ
    • เอกสารการควบคุมสินค้าสำเร็จรูป
    • เอกสารการควบคุมสินค้าระหว่างทำ
    • เอกสารการควบคุมสินค้าส่วนสูญเสียจากการผลิต
    • ระบบเอกสารการเบิก-จ่ายเพื่อคุมวัตถุดิบ
  3. ทำอย่างไร ถ้าสินค้าสำเร็จรูปผลิตได้ลดลงผิดปกติและกรณีส่วนสูญเสียเกินมาตรฐานจะทำเอกสารอย่างไรให้สรรพากรยอมรับและไม่ถูกประเมิน
    • ใครบ้างที่ต้องรับทราบความเสียหาย
    • ต้องให้ผู้บริหารอนุมัติหรือไม่
    • อย่างไรถือเป็นของเสียเกินปกติ
    • การคำนวณหาต้นทุนส่วนดีของสินค้
    • เอกสารหลักฐานเพื่อให้สรรพากรตรวจสอบ
    • ประเด็นที่สรรพากรจะประเมิน
  4. ค่าใช้จ่ายของกิจการในการผลิตที่สรรพากรนำมาใช้ประเมินรายได้
  5. ปริมาณสินค้าสำเร็จรูปที่ได้จากขบวนการผลิตกับวัตถุดิบที่ใช้ไปในการผลิต สรรพากรมีหลักเกณฑ์อย่างไร
  6. การขายสินค้า ทรัพย์สินเก่า ทำลายเศษซาก ส่วนสูญเสียต้องปฏิบัติอย่างไร
    • บริษัททั่วไป
    • บริษัทที่ได้รับ BOI
    • บริษัทในเขตปลอดอากร
    • ธุรกิจทั่วไป
  7. กรณีสินค้าหรือวัตถุดิบที่มีการระเหิด ระเหย จะต้องทำบันทึกบัญชีอย่างไร ให้สรรพากรเชื่อว่ามิได้นำไปขาย
  8. จุดที่สรรพากรประเมินและตรวจสอบสูตรการผลิต ส่วนสูญเสียในการผลิต
    • การ Matching วัตถุดิบกับสินค้าสำเร็จรูป
    • รายจ่ายเปรียบเทียบกับรายได้และยอดขาย
    • การเปรียบเทียบกับธุรกิจที่เหมือนกับแต่ผลผลิตต่างกัน
    • การตรวจสอบภาษีกรณีที่ไม่มีผู้ผลิตรายอื่น
  9. ปัญหาในการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ การออกใบกำกับภาษีและการนำส่งยอดขาย และรับรู้รายได้จากการขาย
    • เศษซาก
    • เศษวัสดุ
    • วัตถุดิบเหลือใช้
    • สินค้าตกรุ่น มีตำหนิ
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

โรงแรมอวานี รัชดา กรุงเทพฯ (ชื่อเดิม รร.แกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ)
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba