วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
1. ตีแตกประเด็น... เกี่ยวกับ “จำนวนครั้งในการติดต่อทวงถามหนี้” บังคับใช้ 21 พ.ย. 2562 1.1 การทวงหนี้วันละครั้ง จะต้องมีหลักเกณฑ์อย่างไร? 1.1.1 โทรหาลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ไม่รับสาย 1.1.2 โทรไปหาลูกหนี้ รับสายแต่ไม่ได้สนทนา หรือ วางสาย 1.1.3 ส่ง Line แล้วแสดงผลว่า “อ่านแล้ว” และ ไม่มีการเปิดอ่าน มีผลอย่างไร? 1.2 การทวงหนี้วันละครั้งให้พิจารณา “ลูกหนี้” หรือ “ประเภทของหนี้”
2. ทำความเข้าใจ....สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติ “การทวงหนี้” 2.1 “ผู้ทวงถามหนี้” คือใคร และหมายความรวมถึงใครบ้าง? 2.2 “ผู้ให้สินเชื่อ” มีลักษณะอย่างไร? 2.3 รูปแบบของลักษณะ “สินเชื่อ” และประเภทของสินเชื่อ 2.4 “ลูกหนี้” จะต้องเป็นบุคคลอย่างเดียว หรือไม่ 2.5 “สถานที่ติดต่อลูกหนี้” มีสถานที่ใด และติดต่อทางใดได้บ้าง? 2.6 “นายทะเบียน” คือใคร ทำหน้าที่อะไร? 2.7 “ธุรกิจทวงถามหนี้” มีความหมายอย่างไร? กรณีการจ้างทวงถามหนี้โดยตรงหรือโดยอ้อม
3. ประเด็น เกี่ยวกับการดำเนินการทวงถามหนี้ 3.1 กรณีผู้ทวงถามหนี้ ทำการทวงถามหนี้ กับ “บุคคลอื่นที่ไม่ใช่ลูกหนี้” สามารถดำเนินการได้หรือไม่ 3.2 การสอบถามหรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ จะต้องปฏิบัติอย่างไร? 3.3 การ “ห้ามใช้” ข้อความเครื่องหมาย สัญลักษณ์ ชื่อทางธุรกิจ บนซองจดหมาย หนังสือ 3.4 “ช่วงเวลา” “วันเวลา” และ “สถานที่” สำหรับการติดต่อทวงหนี้ 3.5 ลักษณะ “ต้องห้าม” ในการทวงถามหนี้
4. บทกำหนดโทษ : โทษทางปกครอง โทษทางอาญา (ทั้งจำ ทั้งปรับ เปรียบเทียบปรับ พัก เพิกถอนใบอนุญาต) ตามพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
5. ผลกระทบ...การติดตามทวงถามหนี้ ที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 5.1 ข้อมูลอะไรบ้าง? ถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล ของลูกหนี้ 5.2 การเก็บรวบรวม การใช้การเปิดเผยข้อมูล ส่วนบุคคล และสิทธิของเจ้าของ 5.3 ใคร? เป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 5.4 การเผยแพร่ข้อมูลลูกหนี้ หรือขายข้อมูลลูกหนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต 5.5 การเก็บข้อมูลลูกหนี้ จะต้องขอความยินยอมในการเก็บข้อมูลหรือไม่? 5.6 การได้รับความยินยอมจากลูกหนี้ จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
6. บทกำหนดโทษ : โทษทางปกครอง โทษทางอาญา (ทั้งจำ ทั้งปรับ) โทษสูงสุด 5 ล้านบาท
7. ถาม—ตอบ ปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
|