• เจาะลึกปัญหา รายได้-รายจ่าย พร้อมวิธีแก้ปัญหาเมื่อสรรพากรตรวจสอบ • ภาระภาษีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเพื่อขายเอง กับการรับจ้างผลิต ยา อาหารเสริม เวชสําอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์แตกต่างกันอย่างไร • ธุรกิจผลิต จําหน่าย ยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ กรณีใดต้องเสีย VAT , NON VAT หรือยกเว้น VAT
วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
1.ภาระภาษีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต จำหน่ายยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์
2.ปัญหารายได้ของกิจการ - จำหน่ายสินค้าแบบขายปลีกให้แก่ลูกค้าที่สนใจโดยตรง *ผ่านร้านค้าปลีก สาขาย่อยของบริษัท โดยมีการผลิต หรือส่งสินค้ามาจากสำนักงานใหญ่ *ผ่านสำนักงานใหญ่ - จำหน่ายสินค้าแบบขายส่ง *ให้แก่โรงพยาบาล กลุ่มบริษัท ร้านขายยาทั่วไป *ส่งออกสินค้าไปจำหน่ายนอกราชอาณาจักร - การจำหน่ายสินค้าผ่านตัวแทน - เป็นตัวแทนจำหน่ายสินค้าให้กับบริษัทต่างประเทศ - การผลิตสินค้าเพื่อจำหน่ายเอง - การรับจ้างผลิตสินค้า *ใช้สูตรการผลิตของกิจการ *ใช้สูตรการผลิตของบริษัทลูกค้า *ความแตกต่างทางภาระภาษีระหว่างรับผลิตสินค้าตามออเดอร์ ที่ไม่ได้เป็นปกติธุระ กับการรับผลิตสินค้าที่ กิจการผลิตอยู่แล้ว - การจำหน่ายวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิตสินค้าให้แก่ลูกค้า - ค่าบริการซ่อมแซม ติดตั้ง ขนส่งสินค้า
3.ปัญหารายจ่ายของธุรกิจผลิต จำหน่ายยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ - ซื้อนวัตกรรม สูตรการผลิต หรือผลิตภัณฑ์จากที่อื่นมาใช้ในกิจการ - ซื้อวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตสินค้าในกิจการ - นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศมาจำหน่ายในประเทศไทย - ว่าจ้างผู้ผลิตสินค้าจากในประเทศ และต่างประเทศให้ผลิตสินค้า - จ้างออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ - การตั้งโรงงานเพื่อวิจัย พัฒนา และผลิตสินค้า - ส่งพนักงานไปศึกษาเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาความรู้ในการคิดค้นและพัฒนาสินค้า - การจัดอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท - ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการวิจัยและพัฒนาสินค้า - การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต - ทำการตลาดประชาสัมพันธ์สินค้า ออกบูธ โฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ - ค่ารับรองลูกค้า ค่าเดินทางไปปฏิบัติงานของพนักงาน - ค่าแรงงาน โบนัส เบี้ยขยัน ค่าคอมมิชชั่นที่ให้แก่พนักงานขายหรือลูกจ้าง - ค่าคอมมิชชั่นที่ให้แก่ตัวแทนจำหน่าย - บริจาคยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ ต้องนำมาลงรายจ่ายหรือไม่ - เช่าคลังเก็บสินค้า - หักค่าเสื่อมราคาเครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในกิจการ
4.ปัญหาการจัดทำ Sale Promotion - สินค้าที่แถม หากส่งให้ภายหลังต้องนำรายการมาลงในใบเสร็จหรือไม่ - ให้ส่วนลด รางวัล หรือประโยชน์อื่นใด แก่พนักงานที่ทำยอดจำหน่ายถึงเป้าเป็นค่าส่งเสริมการขาย - การแถมสินค้าให้ลูกค้าจำเป็นต้องเป็นชนิดเดียวกันกับสินค้าที่ขายหรือไม่ - ส่วนลดที่ให้เป็นเงินสด มีภาระภาษีแตกต่างกับส่วนลดที่ให้เป็นสิ่งของอย่างไร - ส่งสินค้าให้ลูกค้าทดลองใช้ กรณีเรียกเก็บคืน และไม่เรียกเก็บคืน - จำหน่ายสินค้าและแถมบริการ - ส่งเสริมการขาย แตกต่างกับค่ารับรองอย่างไร
5.ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกี่ยวกับกิจการ ธุรกิจผลิต จำหน่ายยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ - กรณีใดต้องเสีย VAT, ยกเว้น VAT หรือ NON VAT - ประเภทของสินค้านำเข้าที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม - ปัญหาการนำเข้าสินค้าที่ได้รับยกเว้น VAT เพื่อบริจาคตามเงื่อนไขของรัฐ และบางส่วนนำไปใช้ในกิจการ จะสามารถพิสูจน์การใช้อย่างไรได้บ้าง - นำเข้าวัคซีนเพื่อจำหน่าย แต่ต่อมาได้นำวัคซีนไปบริจาคให้สถานพยาบาล จะได้รับยกเว้น VAT เช่นเดียวกับการนำเข้า เพื่อบริจาคหรือไม่ - ติดตั้งเครื่องมือแพทย์ให้ลูกค้าเพื่อทดลองใช้ ต้องเรียกเก็บ VAT จากลูกค้าหรือไม่ - หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำใบกำกับภาษี *กรณีที่สินค้าในใบกำกับภาษีมีทั้ง VAT และ NON VAT - มีกิจการทั้ง VAT และ NON VAT จะนำมาเฉลี่ยภาษีซื้ออย่างไร - การจัดทำรายงานภาษีซื้อและรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
6.การลงรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร - จัดเก็บสินค้าไว้ที่สำนักงานใหญ่ และส่งให้สาขาย่อย หรือตัวแทนนำไปจำหน่าย - โอนสินค้าจากสำนักงานใหญ่ไปเก็บไว้ที่สาขาย่อยเพื่อรอจำหน่าย - ขายสินค้าต่ำกว่าราคาทุน - สินค้าที่นำไปเป็นตัวอย่าง ให้ลูกค้าทดสอบ หรือทดลองใช้ - ปัญหาการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ - สินค้าชำรุด เสื่อมสภาพ หมดอายุ หรือสูญหาย - สินค้าขาดหรือเกินจากรายงาน
7.กรณีใดบ้างที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย - จำหน่ายเครื่องมือแพทย์พร้อมบริการติดตั้ง - จำหน่ายยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์พร้อมขนส่ง - บริการดูแล ซ่อมแซมเครื่องมือแพทย์ หลังการจำหน่าย - ใบ PO ไม่ได้แยกค่าบริการกับการจำหน่ายยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ - ส่วนลดที่ให้กับผู้ซื้อที่เป็นตัวแทนจำหน่ายที่ซื้อสินค้าไปขายต่อ
8.สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI - การผลิตยาจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 5 ปี จากเดิมที่ไม่เคยได้รับการยกเว้น - ประเภทของอุตสาหกรรมทางการแพทย์ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนของBOI - หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับการส่งเสริมการลงทุน
9.การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีปี 2565-2566
10.การยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี ภ.ง.ด.50 และภ.ง.ด. 51 ปี 2566
11.เอกสารที่ใช้ในการผลิต จำหน่ายยา อาหารเสริม เวชสำอาง เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ ที่ใช้พิสูจน์กับสรรพากรได้
|