70 ประเด็นปัญหาภาษีจากการทำสัญญา พร้อมกลยุทธ์การทำสัญญา เพื่อการวางแผนภาษี

รหัสหลักสูตร : 21/1882

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,029 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,778 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


 ภาษีจากการทำสัญญาพร้อมกลยุทธ์การทำสัญญาเพื่อการวางแผนภาษี (70 ประเด็น)

  • ปัญหาการติดอากรแสตมป์ กับ e-Stamp Duty 5 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์
  • ภาระภาษีเมื่อสัญญาไม่เป็นสัญญา
  • เทคนิคการวางแผน การทำสัญญาเพื่อประโยชน์ทางภาษี
  • Case Studies เปรียบเทียบสัญญาแต่ละประเภทเพื่อวางแผนภาษี
  • Case Studies สัญญาไม่ดี เสียภาษีหลายล้าน

หัวข้อสัมมนา

  1. ความสำคัญของการทำสัญญาเพื่อการวางแผนภาษี
  2. “สัญญา” ตามประมวลรัษฎากรกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่างกันหรือไม่
  3. ความแตกต่างทางภาษีจากการทำสัญญา
    • เช่า กับ ใช้
    • ใช้ กับ ซื้อ
    • ยืม กับ เช่า
    • บริการกับขนส่ง
    • สัญญาทดรองจ่ายกับบริการ
    • สัญญาลิขสิทธิ์กับสัญญาเช่า
    • เช่า กับบริการต่างกันอย่างไร
    • จ้างแรงงาน กับ รับทำงานให้
    • รับจ้าง กับ รับทำงานให้
    • รับจ้างผลิตกับซื้อขาย
    • ขายพร้อมขนส่งกับขนส่งอย่างเดียว
    • ขายพร้อมติดตั้งกับรับจ้างทำของ
    • ขายพร้อมติดตั้งกับซื้อสินค้าพร้อมวางระบบ
    • ซื้อสินค้าและเรียกเก็บค่าออกแบบ
    • ความแตกต่างของสัญญาเช่าซื้อ, เช่า, ลิสซิ่ง
    • สัญญารับเหมา กับ รับจ้าง
    • สัญญาการตั้งตัวแทน
    • สัญญาขายฝาก กับ ฝากขาย
    • ชื่อสัญญากับเนื้อหาสัญญาไม่สอดคล้องกัน สรรพากรจะยึดอะไรเป็นหลัก
    • สัญญา Turn-key มีภาระภาษีอย่างไร
    • ชื่อสัญญากับใบแจ้งหนี้, ใบเสร็จรับเงินต่างกันภาระภาษีเป็นอย่างไร
    • ข้อเท็จจริงตามสัญญากับใบแจ้งหนี้, ใบเสร็จต่างกันมีประเด็นภาษีอย่างไร
  4. ปัญหาการรับรู้รายได้-รายจ่ายจากการทำสัญญา
    • สัญญาทดรองจ่ายถือเป็นรายจ่ายของกิจการได้หรือไม่ เมื่อรับเงินคืนต้องรับรู้เป็นรายได้ด้วยหรือไม่
    • สัญญาการตั้งตัวแทนขายสินค้ารับรู้รายได้เมื่อใด
  5. ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากการทำสัญญา
    • จ่ายค่าสินค้าพร้อมขนส่งต้องหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร
    • สัญญาลิสซิ่งต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
    • จ่ายค่าสินค้าพร้อมติดตั้ง
    • จ่ายค่าที่จอดรถต้องหัก ณ ที่จ่ายอัตราใด
    • จ่ายค่าเช่าอาคารกับใช้พื้นที่หัก ณ ที่จ่ายต่างกันหรือไม่
    • จ่ายค่าซ่อมพร้อมอะไหล่
    • เงินทดรองจ่ายถ้าไม่มีหลักฐานว่าเป็นเงินทดรองต้องหัก ณ ที่จ่ายอย่างไรหรือไม่
    • สัญญาระยะสั้น กับ สัญญาระยะยาวหัก ณ ที่จ่ายแตกต่างกัน หรือไม่
  6. ปัญหาภาษีมูลค่าเพิ่มจากการทำสัญญา
    • กรณีขายสินค้าพร้อมติดตั้งใบกำกับภาษีออกแยกได้หรือไม่
    • จุด Tax Point ของการขายสินค้าพร้อมติดตั้งเกิดเมื่อใด
    • ออกใบกำกับภาษีเรียกเก็บค่าติดตั้งหลังจากส่งมอบสินค้าแล้วได้หรือไม่
    • สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กับสังหาริมทรัพย์ออกใบกำกับภาษีอย่างไรใบเดียวกันได้หรือไม่
    • จุด Tax Point ของสัญญาเช่าต้องออกเมื่อใด
    • ในกรณีออกใบกำกับภาษีโดยมีรายการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มฐานภาษี VAT คิดจากยอดใด
  7. ปัญหาการจ่ายเงินมัดจำ เงินประกัน เงินจอง Retention
    • การจ่ายค่า Retention คืนต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ และออกใบกำกับภาษีอย่างไร
    • จ่ายเงินมัดจำการเช่าต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ อัตราใด
    • ริบเงินมัดจำเนื่องจากผิดสัญญาทำได้หรือไม่และมีภาระภาษี อย่างไร
    • เมื่อคืนเงินมัดจำ ต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่และต้องหัก ณ ที่จ่ายด้วยหรือไม่
  8. ภาระภาษี เมื่อสัญญาไม่เป็นสัญญา
    • บอกเลิกสัญญาก่อนกำหนดจะมีภาระภาษีอย่างไร
    • ลูกค้าผิดนัดไม่ชำระค่างวดต้องปฏิบัติอย่างไร
    • เรียกเก็บค่าความเสียหายเนื่องจากลูกค้ายกเลิกสัญญามีภาระภาษีอย่างไรบ้าง
    • เงินค่าปรับกรณีลูกค้าบอกเลิกสัญญาก่อนกำหนดต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่
    • ค่าปรับที่เรียกเก็บต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่
  9. เทคนิคการวางแผนการทำสัญญาเพื่อประโยชน์ทางภาษี
    • สัญญาการตั้งกิจการร่วมค้า (Joint Venture Agreement) กับ การค้าร่วม
    • การวางแผนภาษีจากการตั้งคณะบุคคลห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจำกัดที่จะได้ประโยชน์สูงสุด
    • สัญญาซื้อขายพร้อมติดตั้ง
    • สัญญาลิสซิ่ง กับ สัญญาเช่า
    • สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์พร้อมบริการ
    • ซ่อมพร้อมอะไหล่
    • ทำสัญญาที่ช่วยให้ยืดเวลาเสียภาษีออกไป สรรพากรยอมรับหรือไม่
    • สัญญาการออกภาษีแทนมีข้อดี-ข้อเสียอย่างไรหรือไม่
  10. ปัญหาการติดอากรแสตมป์กับ 28 ตราสาร (สัญญา) ประเด็นปัญหาจากการทำสัญญา
    • สัญญาประเภทใดบ้าง ที่ต้องติดหรือไม่ติดอากรแสตมป์
    • สัญญาจำเป็นต้องเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่
    • กรณีบริการเกิดขึ้นแล้วแต่สัญญาทำภายหลังจะต้องติดอากรแสตมป์เมื่อใด
    • สัญญาใดบ้างที่ต้องติดเป็นตัวเงินและต้องติดเป็นดวงตรา
    • กรณีกฎหมายให้ติดเป็นดวงตราแต่ชำระเป็นเงินสดแทนได้หรือไม่
    • การปิดอากรแสตมป์ กรณีทำตราสารหลายลักษณะในสัญญาเดียว
    • หลักเกณฑ์และวิธีการเสียอากรแสตมป์ที่ถูกต้องตามสรรพากร
    • 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Stamp) ที่ต้องชำระค่าอากรเป็นตัวเงินตามความหมายของสรรพากร
    • การเสียอากรแสตมป์สำหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์
    • ระวัง!! โดนเบี้ยปรับ-เงินเพิ่ม หากเสียอากรแสตมป์ไม่ถูกต้อง
  11. กลยุทธ์การทำสัญญาเพื่อการวางแผนภาษี
  12. Case Studies เปรียบเทียบสัญญาแต่ละประเภทเพื่อวางแผนภาษี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพฯ
33/1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม. 10120
โทรศัพท์ :
02-2108100
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีสุรศักดิ์ ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba