✦ ทำไมต้องมีการตรวจสอบ HR ✦ การตรวจสอบภายใน และ การตรวจสอบ ISO มีความแตกต่างกันอย่างไร ✦ ประเภทงานตรวจสอบที่ฝ่าย HR มักจะได้รับการตรวจสอบ - การตรวจสอบทางด้านการปฏิบัติงาน - การตรวจสอบทางด้านการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน HR และกฎระเบียบภายในองค์กร - การตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - กรณีศึกษาที่ตรวจพบในปัจุบัน ✦ ทำความรู้จักและเข้าใจกระบวนการตรวจสอบที่ HR จะได้พบ ✦ กรณีศึกษาที่ตรวจพบในปัจุบัน
บรรยายโดย อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา
หัวข้อสัมมนา
1. ทำความรู้จักฝ่ายตรวจสอบ • ทำไมต้องมีการตรวจสอบ HR • ประเภทของการตรวจสอบภายในที่ฝ่ายตรวจสอบปฏิบัติงาน • การตรวจสอบภายใน และการตรวจสอบ ISO มีความแตกต่างกันอย่างไร • ประโยชน์ของการตรวจสอบ HR ที่จะเกิดขึ้นต่อองค์กร • การตรวจสอบภายในเกิดขึ้นเมื่อไหร่ • มูลค่าเพิ่มหรือ value added ที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบ HR จะเกิดขึ้นได้อย่างไร
2. ประเภทงานตรวจสอบที่ฝ่าย HR มักจะได้รับการตรวจสอบ และกรณีศึกษาที่ตรวจพบ ในปัจุบัน • การตรวจสอบทางด้านการปฏิบัติงาน - การปฏิบัติงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์กลยุทธ์ งบประมาณ ค่านิยมขององค์กร - การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดแบ่งงานหน้าที่ ความรับผิดชอบ - การสรรหาและการคัดเลือก - การอบรม และพัฒนาบุคลากร - สถานที่อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆในการปฏิบัติงาน • การตรวจสอบทางด้านการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงาน HR และกฎระเบียบภายในองค์กร - นโยบายและระบบการจ้างพนักงาน - การบริหารค่าจ้างเงินเดือน - การยื่นภาษี - ระบบสวัสดิการ ประกันสังคม - ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน - กระบวนการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - ระบบการให้รางวัลผลตอบแทน สิทธิประโยชน์พนักงานโดยทั่วไป • การตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - กระบบการเก็บข้อมูล และการรักษาความปลอดภัย ของข้อมูลของพนักงาน • กรณีศึกษาที่ตรวจพบในปัจุบัน - การรับสมัครงานโดยไม่ตรวจสอบประวัติและเอกสาร - การปลอมแปลงเอกสารสมัครงาน - การยักยอกเงินเดือน - การยื่นภาษีผิด - การยักยอกเงินประกันสังคม - การนำส่งเงินเดือนผิด - การทุจริตอ้างเงินไปบริจาค - กรณีอื่นๆ
3. ทำความรู้จักและเข้าใจกระบวนการตรวจสอบที่ HR จะได้พบ • การสอบถามข้อมูลด้านต่างๆ • การตรวจสอบเอกสารด้านต่างๆ • การสำรวจสภาพจริงของการปฏิบัติงาน • การทดสอบรายการของการปฏิบัติงานต่างๆ • การยืนยันประเด็นผลการตรวจสอบในเบื้องต้น • การเข้าร่วมประชุมเปิดและประชุมปิดสรุปผลการตรวจสอบ • การตอบสนองต่อผลการตรวจสอบในรายงานการตรวจสอบ • การระบุระยะเวลาของการปรับปรุงการปฏิบัติงาน • เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร • การติดตามผลของการปรับปรุงการปฏิบัติงาน
4. สิ่งที่ HR ต้องเตรียมตัวเมื่อได้รับแจ้ง • การสื่อความและแจ้งให้ทราบภายในฝ่าย HR • การเตรียมเอกสารและข้อมูลต่างๆ • การอำนวยความสะดวกต่อการตรวจสอบที่จะเกิดขึ้น • การให้ความร่วมมือและการปฏิบัติตัวเพื่อ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ
5.การประเมินผลความพึงพอใจและคำแนะนำต่อการปฏิบัติงาน ตรวจสอบที่เกิดขึ้น
6.สิ่งที่ HR จะต้องปฏิบัติกรณีผลการตรวจสอบที่เกิดขึ้น มีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นในองค์กร
7.กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่ HR มักถูกตรวจสอบ • การปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน • การปฏิบัติตามกฎหมายประกันสังคม • การปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน • การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • การปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในองค์กร
|