การบริหารความเสี่ยงทางศุลกากรสำหรับผู้นำเข้า-ส่งออก

รหัสหลักสูตร : 21/8635/1

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



การบริหารความเสี่ยงทางศุลกากรสำหรับผู้นำเข้า-ส่งออก

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

วิทยากรโดย ดร.สิทธิชัย พรหมสุวรรณ

หัวข้อสัมมนา

1. Update กฎหมายศุลกากร ที่จะมีผลใช้บังคับในปี 2023
- อำนาจในการประเมิน การตรวจทาน และการตรวจสอบทางภาษีอากร
- ฐานความผิดต่าง ๆ ตามกฎหมายศุลกากร
- ระยะเวลาในการจัดเก็บเอกสาร
- เกณฑ์เปรียบเทียบปรับระงับคดีในชั้นศุลกากร
2. การบริหารความเสี่ยงทางศุลกากร (Customs Risk Management)
- การควบคุมก่อน และขณะตรวจปล่อยของกรมศุลกากร (Pre-Clearance Control)
- ศุลกากรใช้เครื่องมือใดในการบริหารความเสี่ยงในการตรวจสอบสินค้านำเข้า-ส่งออก (Risk Management Tool)
- การควบคุมหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Control)
3. การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย ณ สถานประกอบการ (Customs Post Audit)
- Update แนวทางการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย ณ สถานประกอบการ
- การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยกรณีศุลกากรไร้เอกสาร (Customs Paperless)
- หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติอำนาจหน้าที่และเอกสารหลักฐานต่างๆ ในการตรวจค้น
- ประเด็นที่ศุลกากรมักเข้มงวดและเทคนิคการเอาตัวรอดจากการถูกตรวจสอบ
4. เกณฑ์การระงับคดีและการเปรียบเทียบงดการฟ้องร้องตามพระราชบัญญัติศุลกากร
5. การอำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศและการนำเข้า-ส่งออกของกรมศุลกากร
- ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ National Single Window
- การให้บริการวินิจฉัยพิกัด ราคา และแหล่งกำเนิดสินค้าเป็นการล่วงหน้า
- การตรวจสอบสมัครใจ (Voluntary Audit)
6. แนวทางการบริหารความเสี่ยงทางศุลกากรของผู้ประกอบนำเข้า-ส่งออกการจากการตรวจสอบของศุลกากร
- ภาพรวมของประเด็นความผิดทางภาษีศุลกากรและโทษที่ได้รับ รวมทั้งอะไรคือบ่อเกิดแห่งความผิด?
- การป้องกันการใช้พิกัดอัตราภาษีศุลกากรผิดพลาด
- เทคนิคการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจาก FTAs และข้อควรระวัง
- การนำเข้า Software และการจ่ายค่า License fees
- การตั้งราคาศุลกากรและราคาโอนสำหรับคู่สัญญาที่มีความสัมพันธ์กัน (Customs Valuation & Transfer Pricing)
- การเก็บเอกสารหลักฐานตามกฎหมายศุลกากร
- การดำเนินธุรกรรมทางการเงินผ่านตัวกลาง เพื่อใช้สิทธิลดอัตราอากรภายใต้ความตกลง FTA
- การนำเข้า – ส่งออก สินค้าที่มีการควบคุม สินค้าต้องห้าม สินค้าที่ต้องขออนุญาต หรือ สินค้าอันตราย (Dangerous goods)
- การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร (e-Customs) และ NSW
- ข้อควรระวังในการให้ตัวแทนออกของ (Shipping) ดำเนินการแทนผู้ประกอบการหรือติดต่อกรมศุลกากร
- ประเด็นการพิจารณาความผิด การดำเนินคดีตามกฎหมายศุลกากรและการระงับคดีในชั้นศุลกากร
- ผู้เสียภาษีมีสิทธิอย่างไรในการโต้แย้งการใช้ “ดุลพินิจ” ในจำแนกพิกัดอัตราศุลกากร การประเมินราคาศุลกากรและการสิทธิประโยชน์เพื่อการส่งออก และ FTA
- เทคนิคและปัญหาในชั้นอุทธรณ์คัดค้านการประเมินอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์กรมศุลกากร
7. ประเด็นการพิจารณาความผิด การดำเนินคดีตามกฎหมายศุลกากรและการระงับคดีในชั้นศุลกากร (How to settle customs case)
- ความผิดที่เกิดจากการสำแดงราคาต่ำ ทำให้อากรขาด
- ความผิดที่เกิดจากการไม่รวมค่าใช้จ่ายทางอ้อม (เช่น ค่าสิทธิค่าธรรมเนียมอนุญาต ค่านายหน้า ค่าคนกลาง ค่าวิศวกรรม ค่าออกแบบ ค่าความช่วยเหลือทางวิชาการ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ) ในราคาซื้อขายของที่นำเข้า
- ความผิดที่เกิดจากการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรผิด ทำให้อากรขาด
- ความผิดที่เกิดจากการหลีกเลี่ยงข้อห้ามข้อกำกัด เช่น การนำเข้าโดยไม่มีใบอนุญาตนำเข้า/ส่งออกอย่างถูกต้อง
- ความผิดที่เกิดจากการลักลอบนำเข้าของและกรณีของซุกซ่อน
8. สรุป 108 ประเด็นความผิดภาษีศุลกากร
9. ข้อแนะนำและวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในขณะที่ถูก Post Audit จากเจ้าหน้าที่ศุลกากร

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

ดร.สิทธิชัย พรหมสุวรรณ

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล บางนา
333 ถ.ศรีนครินทร์ แขวง หนองบอน เขต ประเวศ กทม.
โทรศัพท์ :
02-3660505
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีศรีอุดม ทางออกที่ 2 (ห่างจากสถานี 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba