PDPA for Accounting and Finance พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับบัญชี-การเงิน (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/3591Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,959 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,494 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 


PDPA for Accounting and Finance


พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับบัญชี-การเงิน

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD

ผู้ทำบัญชี

สามารถนับชั่วโมงได้

ผู้สอบบัญชี

สามารถนับชั่วโมงได้

 

❖ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นกฎหมายที่นักบัญชี-การเงิน ต้องทำความเข้าใจ
เพื่อป้องกันการผิดพลาด จากการเก็บรวบรวม เปิดเผย และการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลประเภทต่างๆ
❖ สาระสําคัญของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และหลักพื้นฐาน “การคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล” Overview of Data Protection เกี่ยวข้องอย่างไร? กับงานฝ่ายบัญชี-การเงิน
❖ ไขข้อสงสัยและประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งในส่วนกฎหมายและบัญชี-การเงิน
❖ บทลงโทษ : ค่าสินไหมทดแทน โทษอาญา โทษปกครอง จำคุกไม่เกิน 1 ปีและปรับไม่เกิน 5 ล้านบาท


วิทยากรโดย อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา

หัวข้อสัมมนา

1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับขอบเขต หน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และบัญชี-การเงินเกี่ยวข้องอย่างไร? มีผลกระทบอะไรบ้าง?
• ขอบเขตการบังคับใช้ของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเต็มรูปแบบ
• ข้อมูลส่วนบุคคลและเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
• ประเภทของข้อมูลทั่วไป (General Data) ข้อมูลอ่อนไหว (Sensitive Data)
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล แตกต่างกันอย่างไร?

2. สาระสำคัญของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ หลักพื้นฐาน “การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล”
Overview of Data Protection เกี่ยวข้องอย่างไร? กับงานฝ่ายบัญชี-การเงิน

3. การเก็บ รวบรวม ใช้และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับงานบัญชี-การเงิน
ควรคำนึงถึงฐานกฎหมาย(Lawful Basis) ใดบ้าง และมีเทคนิคอย่างไร

4. งานบัญชี-การเงิน ประเภทใดบ้างที่เป็นข้อมูลส่วนบุคคล และฝ่ายบัญชี-การเงินต้อง
ให้ความสำคัญ และปฏิบัติให้สอดคล้องกับ PDPA

5. ประเด็นสำคัญในการจัดเก็บ รวบรวม เปิดเผยข้อมูล ในกรณีต่างๆ ที่ต้องระมัดระวัง

6. วิธีการให้ความยินยอม (Consent) ของเจ้าของข้อมูล ในกรณีใดบ้างที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดทำบัญชี-การเงิน

• ข้อมูลที่ต้องขอความยินยอม
• ข้อมูลที่ไม่ต้องขอความยินยอม

7. บทลงโทษ : โทษทางอาญา และโทษทางปกครอง จำคุกไม่เกิน 1 ปีและปรับไม่เกิน5 ล้านบาท

8. ข้อมูลส่วนบุคคลที่บัญชี-การเงินจะต้องดำเนินการบริหารจัดการให้ถูกต้องตามกฎหมาย
• ข้อมูลของกรรมการ
• ข้อมูลที่ปรึกษา
• ข้อมูลเงินเดือนพนักงาน
• ข้อมูลเกี่ยวกับ คู่ค้า Vendor
• ข้อมูลของลูกหนี้
• ข้อมูลการตรวจสอบบัญชี
• ข้อมูลจากนิติบุคคล
• ข้อมูลนำส่งสรรพากร

9. การจัดทำประเภทของข้อมูล (Classified Data) และขอบเขตการเข้าถึงข้อมูล
ส่วนบุคคลที่บัญชี-การเงิน จะต้องดำเนินการอย่างไร?

10.กรณีผู้ตรวจสอบบัญชีหรือเจ้าหน้าที่สรรพากรขอรายละเอียดข้อมูลต่างๆ
จะต้องปฏิบัติอย่างไร?

11.การจัดทำเอกสาร แบบฟอร์มต่างๆ เพื่อเป็นหลักฐานในการขอเอกสารต่างๆ
เพื่อใช้บริการกับคู่ค้า (Customer และ Supplier) ลูกหนี้ประเภทต่างๆ
จะต้องมีเอกสารอะไรบ้าง

12.การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อออกเอกสารทางบัญชี-การเงิน
• บุคคลธรรมดา / คณะบุคคล
• ห้างหุ้นส่วนสามัญ / ห้างหุ้นส่วนจำกัด
• บริษัทจำกัด / บริษัทจำกัด (มหาชน)
• รัฐวิสาหกิจ / องค์การมหาชน /องค์กรอิสระ

13.ประเด็นปัญหา กรณีลูกค้าไม่ให้ข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลธรรมดาจะต้องปฏิบัติอย่างไร?

14.Case Study ที่เกี่ยวข้องของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กับบัญชี-การเงิน

15.คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

16.ถาม-ตอบประเด็นปัญหา

 

 

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba