ภาษีอากรสำหรับค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/1282Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,103 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,638 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ภาษีอากรสำหรับค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน
ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

CPA สามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป้นทางการได้

• Update!!! หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการ ลงรายจ่าย 2 เท่าจากการลงทุนในระบบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Tax Invoice / e-Withholding Tax) พร้อมวิธีกาจัดทํารายงานการลงทุนในระบบ
อิเล็กทรอนิกส์และการจ่ายเงินตามประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ 604
• ระบบ e-Withholding Tax กับอัตราการหัก ณ ที่จ่าย 3%, 5% เหลือ 2% กิจการของคุณ
ต้องหักในอัตราใด? เข้าเงื่อนไขหัก 2% หรือไม่?
• ระวัง!!! สรรพากรตรวจสอบอะไร?? จากข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะของคุณ และประเด็น
การตรวจสอบย้อนหลังจากข้อมูลการรับ-โอนเงิน
• e-Service ใครเป็นผู้ได้รับผลกระทบ เสียหรือนำส่ง VAT 7%
• เจาะประเด็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อกิจการเมื่อสรรพากรนํากฎหมาย e–Payment มาใช้
ในการจัดเก็บภาษี


วิทยากรโดย  อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

1. ภาษีที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีต้องรู้
- ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
- ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
- กฎหมายใหม่ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด
2. เมื่อยื่นแล้วสามารถแก้ไขได้หรือไม่
- ลย.01
- กรณีพนักงานแจ้ง ลย.01 ผิด ใครต้องรับผิดชอบ
3. เกณฑ์การตรวจสอบของสรรพากรเกี่ยวกับประเภทรายได้ของพนักงานลูกจ้าง
4. ประเด็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้างที่ฝ่ายบุคคลและผู้บริหารต้องรู้เพราะมักถูกสรรพากรตรวจสอบ
5. เขียนสวัสดิการอย่างไรให้บริษัทลงรายจ่ายได้ และไม่เป็นรายได้พนักงาน
6. สวัสดิการที่ให้พนักงานจะเลือกให้แค่บางปีได้หรือไม่
7. Case Studies ทางภาษีที่เกี่ยวกับการให้สวัสดิการพนักงานที่สรรพากรมักตรวจสอบพร้อมวิธีการแก้ปัญหา
- การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษพนักงาน, เบี้ยขยัน, ค่าล่วงเวลา, โบนัส
- เงินประจําตําแหน่งผู้บริหารอยู่ในโครงสร้างเงินเดือนหรือไม่
- ค่าคอมมิชชั่นมีหลักเกณฑ์การจ่ายอย่างไร
- ค่าครองชีพมีเงื่อนไขการจ่ายอยู่ที่เหตุผลใด
- ค่าจ้างคนขับรถต้องจ่ายทุกครั้ง? จ่ายเป็นรายเดือนได้หรือไม่ อย่างไร
- เบี้ยเลี้ยงจ่ายให้กับพนักงานฝ่ายไหน อัตราใด
- เบี้ยเลี้ยงจ่ายให้กับพนักงานฝ่ายไหน อัตราใด
- ค่าน้ำมันรถส่วนตัวของพนักงาน มีการอนุมัติและผ่านการตรวจสภาพหรือไม่
จ่ายตามจริงหรือเหมาจ่ายรายเดือน
- จ่ายค่าโทรศัพท์ให้พนักงาน
- โบนัสเป็นลักษณะผันแปรหรือคงที่ และจ่ายจากยอดขายหรือผลกําไร
- ค่ารักษาพยาบาลให้ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกด้วย หรือไม่
- สนับสนุนพนักงาน WFH (Work From Home) จัดหาอุปกรณ์ อินเทอร์เน็ต ระบบ VPN,
โทรฟรี, ซอฟต์แวร์ประชุมออนไลน์พิสูจน์การใช้งานอย่างไร
- เปลี่ยน Smart Phone หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้ทุกปี
- จัดอบรมพนักงาน Public/In-House Training ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์
ต้องทํารายงานอย่างไร กรณีใดต้องบันทึก VDO
- การประกันภัยกลุ่มพนักงาน ระบุผู้ใดเป็นผู้รับประโยชน์ในกรมธรรม์
- ซื้อประกันสุขภาพ/ประกันโรคติดต่อให้พนักงาน หรือให้พนักงานซื้อแล้วนํามาเบิกบริษัท
- ทุนการศึกษาของพนักงานต้องไปเรียนในด้านใด
- ทุนการศึกษาบุตรของพนักงานมีการกําหนดระดับการศึกษาหรือไม่
- ช่วยเหลืองานสมรส ต้องมีทะเบียนสมรสหรือไม่
- ช่วยเหลืองานศพ ต้องจัดทําพวงหรีดและวางไว้ ณ จุดใด
- ออกภาษีให้พนักงานต้องกําหนดในระเบียบหรือหนังสือสัญญา
- การเลี้ยงอาหารกลางวันและเครื่องดื่มต่างจากการให้น้ําดื่มอย่างไร
- การจัดกิจกรรมตามประเพณี, ทําบุญประจําปี, แข่งขันกีฬาสี, จัดงานปีใหม่
ระบุเหตุผลในการจัดอย่างไร
- การใช้รถประจําตําแหน่งของผู้บริหารหลังเลิกงานแล้วจอดที่ใด
- รถรับ-ส่งพนักงานต่างจากรถรับ-ส่งนักเรียนอย่างไร
- ให้พนักงานกู้ยืมเงินคิดดอกเบี้ยต่ํา หรือ 0%
- ให้หรือขายหุ้นแก่พนักงานในราคาต่ํากว่าราคาตลาด
- ค่าใช้จ่ายเพื่อจัดสิ่งอํานวยความสะดวกแก่ลูกจ้างที่เป็นคนพิการ
8. การคํานวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายที่ต้องระมัดระวัง
- เริ่มทํางานปีแรก
- ปรับเงินเดือนระหว่างปี
- เกษียณอายุ
- ลาออกจากงาน
- เลิกจ้าง
- ลาออกจากกองทุน
9. กรณีจ้าง Out source ต้องคํานวณหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร
10.เมื่อมีการทุจริตจะบังคับให้ชดใช้จากเงินเดือนได้หรือไม่ ในทางภาษีจะคํานวณอย่างไร
11.ตรวจสอบข้อบังคับการทํางาน และระเบียบสวัสดิการพนักงาน
12.ประเด็นสวัสดิการที่มีปัญหากับประกันสังคม
13.การลงรายจ่ายค่าอบรม 200% ต้องทําอย่างไร
- Public Training
- In-house Training

 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba