แนวทางการจัดทำบัญชี-ภาษีอากรสำหรับการลงทุนใน Cryptocurrency (หลักสูตรใหม่ 2564)

รหัสหลักสูตร : 21/5188

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


แนวทางการจัดทำบัญชี-ภาษีอากร

สำหรับการลงทุนใน Cryptocurrency


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 3 อื่นๆ 3 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 3 อื่นๆ 3 ชม.

 

ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ และ คุณณัฐวัฒน์ โลหะพิทักษ์

หัวข้อสัมมนา

ภาษีและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Cryptocurrency

1. ความหมายและประเภทของ “สินทรัพย์ดิจิทัล”

1.1 Cryptocurrency (สกุลเงินดิจิทัล)

1.2 Digital Token (โทเคนดิจิทัล))

2. กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัล

2.1 พรก.การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 (พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัลฯ)

2.2 พรก.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ.2561

3. รูปแบบการได้มาซึ่ง Cryptocurrency ของบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล

3.1 การซื้อ-ขาย หรือ การเทรด (Trading)

3.2 การขุดเหรียญ (Mining)

4. ประเภทเงินได้จากการลงทุนใน Cryptocurrency มีภาระภาษีอย่างไร

4.1 กำไรจากการซื้อ-ขาย (Websiteในประเทศ)

4.2 กำไรจากการซื้อ-ขาย(Websiteต่างประเทศ)

- กรณีนำกำไรเข้ามาและไม่ได้นำกำไรเข้ามา เสียภาษีเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

4.3 เงินได้จากการขุดเหรียญ (กรณีขุดด้วยตนเอง / เช่าเครื่องขุดในต่างประเทศ / เช่าเครื่องขุดในประเทศไทย)

4.4 ส่วนแบ่งกำไรหรือผลประโยชน์อื่นใดในลักษณะเดียวกัน ขณะถือครองเหรียญอยู่

4.5 การได้มาซึ่ง Free Crypto สิทธิประโยชน์จากการลงทุน

5.การยื่นภาษี ทั้งกรณีถูกหักภาษี และไม่ถูกหักภาษี

6. ประเด็นปัญหาภาษี Cryptocurrency

6.1 การคำนวณภาษีจากกำไรในทางปฏิบัติทำได้หรือไม่

6.2 รายได้จากเหรียญ หักค่าใช้จ่ายได้หรือไม่ อย่างไร

6.3 ภาษีที่ถูกหักไว้สามารถนำมาเครดิตภาษีได้หรือไม่

6.4 อยากเสียภาษีให้ถูกต้องต้องทำอย่างไร

6.5 หากบุคคลธรรมดามีรายได้จาก Cryptocurrency จำนวนมาก ควรดำเนินการในรูปของบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล จึงจะประหยัดภาษีได้มากกว่ากัน

7. เอกสารหลักฐานที่ควรเตรียมในกรณีถูกตรวจสอบภาษี เช่น รายการซื้อ-ขายรายวัน , กระดาน Cryptocurrency Exchange เป็นต้น

แนวทางการจัดทำบัญชีสำหรับการลงทุนใน Cryptocurrency

8. การแบ่งประเภทของ Cryptographic Assets (Cryptocurrency, Asset-Backed Token, Utility Token, Security Token)

9. มาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ Cryptocurrency

9.1 TAS 7 เรื่อง งบกระแสเงินสด

9.2 TAS 32 เรื่อง การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน

9.3 TAS 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

9.4 TAS 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ

9.5 TAS 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

10. เงินลงทุนใน Cryptocurrency จัดเป็นประเภทใดได้บ้าง (เงินสด, สินทรัพย์ทางการเงิน, ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์, สินค้าคงเหลือ, สินทรัพย์ไม่มีตัวตน)

11. การบันทึกบัญชีสำหรับการลงทุนใน Cryptocurrency

11.1 การซื้อ-ขาย หรือ การเทรด (Trading)

11.2 การขุดเหรียญ (Mining) (ขุดด้วยตนเอง / เช่าเครื่องขุด)

12. การบันทึกมูลค่าด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับคืน

13. การบันทึกรายการในงบกระแสเงินสด

14. หลักฐานที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี

15. กรณีศึกษาของกิจการในต่างประเทศและในประเทศไทย : ตัวอย่างการรับรู้ จากงบการเงินจริง

15.1 กรณีมีเงินลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล

15.2 กรณีที่บริษัทออกเหรียญในชื่อบริษัทตัวเอง และการบันทึกบัญชี (Utility Token)

15.3 กรณีกิจการ ICO (Initial Coin Offering)

15.4 กรณีกิจการอสังหาริมทรัพย์ รับชำระเงินด้วย Cryptocurrency

16. ความเสี่ยงอันเนื่องมาจากความผันผวนของราคาและข้อควรระวังต่างๆ กับแนวปฏิบัติทางบัญชีที่นักบัญชีและผู้สอบบัญชีควรทราบ

17. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี



นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์
คุณณัฐวัฒน์ โลหะพิทักษ์

สถานที่

โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba