การควบคุมภายในเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือเพื่อป้องกันการทุจริต

รหัสหลักสูตร : 21/2425

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การควบคุมภายในเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือเพื่อป้องกันการทุจริต

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 6 ชม.


วิทยากรโดย อาจารย์บุญศรี เตชะวรุตมะ


หัวข้อสัมมนา

1. คํานิยามของสินค้าคงเหลือตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 2
- ถือไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจตามปกติของกิจการ
- อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นสินค้าสําเร็จรูปเพื่อขาย
- อยู่ในรูปของวัตถุดิบ หรือวัสดุที่มีไว้เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือให้บริการ

2. ประเภทของสินค้าคงเหลือตามลักษณะการประกอบธุรกิจ
- ธุรกิจซื้อมา-ขายไป
- ธุรกิจผลิตสินค้า
- ธุรกิจบริการ

3. การกําหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ
- มูลค่าของสินค้าคงเหลือ
- การตัดจําหน่ายสินค้าคงเหลือทางบัญชี (Write Off)
- การตรวจนับสินค้าคงเหลือ
- หลักเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ

4. การควบคุมภายในเกี่ยวกับปริมาณสินค้าคงเหลือ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น
- กําหนดปริมาณสินค้าคงเหลือที่เหมาะสมเพื่อการสั่งซื้อ (Min / Max Stock)
- กําหนดปริมาณสินค้าสําเร็จรูปที่เหมาะสมในการขาย (Safety Stock)
- จัดทํารายงานการเคลื่อนไหวของสินค้าคงเหลือ (Stock Movement Report)
- จัดทํารายงานอายุของสินค้าคงเหลือ (Aging Inventory Report)
- จัดทํารายงานสินค้าคงเหลือหมดอายุ / เสื่อมคุณภาพ / ล้าสมัย (Dead Stock Report)
- วิเคราะห์เปรียบเทียบยอดขายกับปริมาณสินค้าคงเหลือ
- วิเคราะห์ Demand / Supply ของสินค้าคงเหลือ ครอบคลุมทั้งปริมาณและราคา
- วิเคราะห์เปรียบเทียบอัตราของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิต

5. การควบคุมภายในเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดซื้อสินค้าคงเหลือ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น
- การขอซื้อ
- การสั่งซื้อ
- การรับของ
- การบันทึกบัญชี (Stock Report / ตั้งหนี้ )

6. การควบคุมภายในเกี่ยวกับคลังสินค้า เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น
- กําหนดผู้รับผิดชอบดูแลคลังสินค้า การเก็บรักษากุญแจ
- ติดตั้งกล้องวงจรปิดและการติดตั้งเครื่องชั่งนํ้าหนัก
- กําหนดแนวทางปฏิบัติและเอกสาร เมื่อต้องนําสินค้าเข้า-ออกจากคลัง ต้องใช้เอกสารใดบ้าง
- กําหนดให้คลังสินค้าตรวจนับสินค้าทุกสิ้นวันและเปรียบเทียบกับระบบคอมพิวเตอร์
- กําหนดรูปแบบการจัดเก็บสินค้าให้เหมาะสม เป็นหมวดหมู่เรียงตามอายุสินค้า
- กําหนดให้การนําสินค้าคงเหลือไปใช้ / ขาย ให้เบิกตาม FIFO

7. การควบคุมภายในเกี่ยวกับการตรวจนับสินค้าคงเหลือ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น
- จัดทําคู่มือการตรวจนับสินค้าคงเหลือ
- จัดประชุมเพื่อทําความเข้าใจก่อนการตรวจนับจริง
- จัดทํารายชื่อผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ รวมทั้งรายชื่อผู้ทําหน้าที่ตรวจนับ (Checker)
- พิมพ์รายงานสินค้าคงเหลือตามพื้นที่ประกอบการตรวจนับ(ไม่แสดงปริมาณและจํานวนเงิน)
- ให้ผู้ทําหน้าที่ตรวจนับ (Checker) ลงนามรับเอกสารประกอบการตรวจนับ
- เมื่อตรวจนับเสร็จให้ผู้รับผิดชอบในพื้นที่และ Checker ลงนามในเอกสารการตรวจนับ
- นําส่งเอกสารคืนฝ่ายบัญชีเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของเอกสาร

8. การบริหารจัดการปัญหาจากการตรวจนับสินค้าคงเหลือ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการทุจริต
- ปริมาณสินค้าคงเหลือตรวจนับจริงสูงกว่า หรือต่ำกว่ายอดคงเหลือทางบัญชี
- สินค้าคงเหลือตรวจนับจริงเสียหาย / ชํารุด / เสื่อมคุณภาพแต่บัญชียังมียอดคงเหลือ

9. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการทุจริตในหน่วยงานคลังสินค้า

10. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์บุญศรี เตชะวรุตมะ

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba