ภาษีสำหรับนักบัญชี ภาษีอากรทั้งระบบ (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/1725Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 2,675 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,210 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ภาษีสำหรับนักบัญชี ภาษีอากรทั้งระบบ
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี

อื่นๆ 4 ชั่วโมง
ผู้สอบบัญชี

นับชั่วโมงแบบ
ไม่เป็นทางการได้

 

Promotion พิเศษ!!!!
เข้าอบรม 2 หลักสูตร หรือ เข้าอบรม 2 ท่านลด 500 บาท
เข้าอบรม 3 หลักสูตร หรือ เข้าอบรม 3 ท่านลด 1,000 บาท
สำหรับ หลักสูตรออนไลน์ เดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 ราคาตั้งแต่ 2,500 บาทขึ้นไป
(ราคายังไม่รวม VAT / ใบเสร็จรับเงินฉบับเดียวกัน / ไม่ร่วมโปรโมชั่นอื่น)


• หลักสูตรยอดนิยม ที่นักบัญชีเข้าฟังมากที่สุด รวม 5 ภาษี... ที่นักบัญชีต้องรู้!!!
• Update กฎหมายใหม่ 2564 รวมมาตรการด้านภาษีที่นักบัญชีต้องทราบ
• ภาษี e-Service ใครบ้าง? ต้องเสียภาษี
• อัตราหัก ณ ที่จ่ายใหม่!! 3% และ 5% เหลือ 2%
• ภาษีเงินได้นิติบุคคล, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, การหักภาษี ณ ที่จ่าย
• หลักเกณฑ์การใช้อัตราแลกเลี่ยนตามหลักเกณฑ์ใหม่
• National e-Payment ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ที่นักบัญชีต้องรู้
   และเตรียมรับมือ
• ประเด็นความรับผิดที่ผู้ทำบัญชีต้องระวัง
• การเสียอากรแสตมป์สำหรับ 5 ตาสารอิเล็กทรอนิกส์

วิทยากรโดย  อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

Update กฎหมายใหม่ที่ผู้ทำบัญชีต้องทราบ
1. นโยบายและกฎหมายภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ 2564
2. การเลือกใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ได้ประโยชน์สูงสุด
    - สิทธิประโยชน์ทางภาษีลงรายจ่ายเพิ่ม 1 เท่า, 2 เท่า มีอะไรบ้าง
    - สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการบริจาค
    - สิทธิประโยชน์ทางภาษีเกี่ยวกับการจ้างคนพิการ
        * การจ้างคนพิการเข้าทำงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
           ลงรายจ่ายได้ 2 เท่า, 3 เท่า
        * กรณีไม่ได้จ้างคนพิการแต่ได้ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
           เงินที่นำส่งบริจาคจะลงรายจ่ายเพิ่มขึ้นได้หรือไม่
    - สิทธิประโยชน์การจ้างผู้สูงอายุเข้าทำงานลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้น
3. Update ประเด็นทางด้านภาษี-บัญชี ที่มีการเปลี่ยนแปลงในยุคใหม่ที่นักบัญชีไม่ควรพลาด

ภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. รายได้ที่ต้องเสียภาษี
    - รายได้ตามประมวลรัษฎากร
    - รายได้จากการประกอบธุรกิจ
    - รายได้จากการดำเนินงาน
    - การรับรู้รายได้เงินปันผลจากการลงทุน
    - การรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากการกู้ยืม
    - รายได้อื่นๆ
2. รายจ่ายที่ใช้ในการคำนวณกำไรสุทธิ
    - รายจ่ายที่มีลักษณะเป็นการลงทุน
    - รายจ่ายในการดำเนินกิจการ
    - รายจ่ายข้ามรอบระยะเวลาบัญชี
    - รายจ่ายต้องห้าม
    - การหักค่าเสื่อม ค่าสึกหรอ
    - การตัดหนี้สูญ
    - รายจ่ายที่มีค่าใช้จ่ายสูงที่นักบัญชีต้องระวัง เช่น ค่าที่ปรึกษาสูง, ค่าตอบแทนกรรมการที่สูงเกินสมควร
    - ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงรับรองลูกค้า
3. การจัดทำเอกสารหลักฐานทางบัญชีเพื่อให้ลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้
    - กรณีที่ผู้รับเงินไม่ยอมออกเอกสารหลักฐานให้
    - กรณีที่มีการจ่ายเงินจริงแต่เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนสามารถลงรายจ่ายได้หรือไม่

ภาษีมูลค่าเพิ่ม
1. การตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มสรรพากร
2. รายได้-รายจ่ายที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และถ้ามีการออกใบกำกับภาษีไปต้องรับผิดหรือไม่
3. ภาษีซื้อต้องห้ามที่ผู้ทำบัญชีต้องรู้และพลาดไม่ได้
4. การเฉลี่ยภาษีซื้อ ประเด็นปัญหาและข้อยุ่งยากในทางปฏิบัติ
5. การตรวจสอบและวางระบบงานในการออกและรับใบกำกับภาษี
    - กรณีผู้ซื้อสินค้า หรือผู้รับบริการ ไม่บอกเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร ต้องออกใบกำกับภาษีอย่างไรให้ถูกต้อง
      ไม่ถูกสรรพากรเล่นงาน

การหักภาษี ณ ที่จ่าย
1. การหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้งระบบตามประมวลรัษฎากร, ความเกี่ยวพันของกฎหมายแต่ละเรื่อง
2. หลักเกณฑ์ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากสัญญาและข้อตกลงทางธุรกิจ
3. ความรับผิดกรณีไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย และวิธีแก้ไข
    - ผู้รับเงินไม่ยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่ายต้องทำอย่างไร

National e-Payment นโยบายโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ที่นักบัญชีต้องรู้และเตรียมรับมือ

1. ระบบ e-Tax Invoice / e- Receipt
2. ระบบ e-Withholding Tax
3. ระบบ e-Filing
4. ระบบ e-Payment
5. ระบบ e-Service
6. ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
7. อากรแสตมป์ กับ 5 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Stamp)

ความรับผิดของผู้ทำบัญชี
1. เสียภาษีไม่ถูกต้อง, รายงานไม่ถูกต้อง ผู้ทำบัญชีต้องรับผิดหรือไม่และจำคุกหรือไม่
2. ก่อนเซ็นงบ ผู้ทำบัญชีต้องตรวจอะไรบ้าง
3. โทษของการใช้ใบกำกับภาษีปลอม ระวัง!!! จำคุก 7 ปี
4. ระวัง! สรรพากรเปิด Web เพิ่มช่องทางแจ้งเบาะแสผู้ที่เสียภาษีไม่ถูกต้อง ผู้ที่หลีกเลี่ยงการเสียภาษี
5. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องกรอกข้อมูล ผ่าน Google Forms
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
4. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
5. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
6. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้ทําบัญชีสามารถนับชั่วโมง CPD ได้ ผู้สอบบัญชีนับชั่วโมง
ไม่เป็นทางการ

ผู้ทำบัญชี
1.ผู้ทําบัญชีสามารถใช้อัตราชั่วโมงการอบรมตามจริงจํานวน 1.5 ชม.
แทนการนับชั่วโมง CPD ได้จํานวน 1 ชม.
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องแนบรูปถ่ายหน้าตรงคู่กับบัตรประชาชน ใน Google forms
3.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
4.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
3.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม






นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 4:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชม.ได้ตามจำนวนการเข้าอบรมจริง 1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba