เคล็ด (ไม่) ลับกับอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อน : Double Taxation

รหัสหลักสูตร : 21/8301/1

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,099 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เคล็ดไม่ลับกับอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อน : Double Taxation

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ รอ ชม.

 

โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

1. โครงสร้างของอนุสัญญาภาษีซ้อน [OECD]

2. ความสัมพันธ์ของ “ถิ่นที่อยู่” กับ “สถานประกอบการถาวร”


3. “สถานประกอบการถาวร” มีความสําคัญอย่างไร


4. 3A ในการพิจารณาสถานประกอบการถาวร [PE]

    - Asset   - Agency   - Activity

5. ผู้ที่จะใช้ประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อนได้
   
- ผู้มีถิ่นที่อยู่เท่านั้น
    - ประเทศที่ไปนั่งเซ็นสัญญา
    - ผู้ที่มีรายได้

6. สํานักงานตัวแทนกับสํานักงานสาขาต่างกันอย่างไร

7. ข้อแตกต่างและสิทธิประโยชน์ทางภาษีของกิจการ
   
- Branch               - Representative office
    - Regional office     - Dependent agent
    - Subsidiary           - Distributer
    - Joint Venture       - Consortium

8. ทําสัญญากับประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนได้ประโยชน์อย่างไร

9. การเก็บภาษีจากกําไรสุทธิ [Business Profits]

10. การยกเว้นเงินได้จากการลงทุน
     
- ดอกเบี้ย     - เงินปันผล

11. ปัญหาจากการจ่ายค่าสิทธิไปต่างประเทศ
     
- ค่า “สิทธิ” กับ “ลิขสิทธิ์ในงานวรรณกรรม” ความเหมือนที่แตกต่าง
      - การจ่าย Royalty, Know How, Copyright
      - ปัญหาการยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มต้องรวมค่าจ้างเบี้ยเลี้ยงของพนักงานที่เข้ามาสอนงานลงโปรแกรมติดตั้งเครื่องจักรให้ด้วย   หรือไม่

12. บริการส่วนบุคคลที่เป็นอิสระและไม่อิสระ

13. การจ่ายเงินได้ให้กับนักแสดงนักกีฬานักศึกษาอาจารย์ค่าป่วยการของกรรมการ (director’s fees)

14. พิจารณาอย่างไรว่าจะหักภาษีณที่จ่ายตามมาตรา 70 หรือใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน

15. ปัญหาในการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน
     
- ปัญหาการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อนอ่านอย่างไรให้เข้าใจ
      - ทําอย่างไรให้เข้าใจอนุสัญญาภาษีซ้อนได้ง่ายและถูกต้องตามสรรพากร
      - บริษัทอยู่ในประเทศนอกอนุสัญญาแต่มีผู้ถือหุ้นกว่า 50% อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนจะใช้สิทธิประโยชน์ได้   หรือไม่
      - บริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนและมีสาขาที่ต่างประเทศจะได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีด้วยหรือไม่

16. เมื่อไรจะยกเว้นภาษีลดอัตราภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน

17. เทคนิคการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อนบรรทัดต่อบรรทัด

18. การอ่านประเภทเงินได้ตามข้อบท DTA
     
- เงินได้จากอสังหาริมทรัพย์                     - เงินได้จากกําไรสุทธิ
      - เงินได้จากการขนส่งทางเรือและอากาศยาน  - เงินได้จากเงินปันผล
      - เงินได้จากดอกเบี้ย                              - เงินได้จากค่าสิทธิ
      - เงินได้จากผลได้ขาดทุน                        - เงินได้จากบริการส่วนบุคคล
      - เงินได้จากค่าป่วยการกรรมการ                  - เงินได้ของนักแสดงและนักกีฬา
      - เงินได้จากเงินบํานาญ                           - เงินได้ของศาสตร์จารย์ครูนักวิจัย
      - เงินได้นักศึกษาและผู้เข้ารับการฝึกอบรม       - เงินได้อื่นๆ

19. กรณีการอ้างสิทธิ DTA ของผู้มีถิ่นที่อยู่

20. กรณีการเสีย CIT ของนิติบุคคลต่างประเทศที่ไม่มี DTA

21. สิทธิเก็บภาษีของเงินได้ตามข้อบท DTA

22. การขจัดภาษีซ้อน (Elimination of DoubleTaxation) มีวิธีขจัดอย่างไร
     
- ประเทศที่มี DTA      - ประเทศที่ไม่มี DTA
      - วิธีใช้เครดิตภาษี       - กรณี DTA ขัดแย้งกับประมวลรัษฎากรจะใช้กฎหมายใด

23. ทิศทางการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในอนาคต Multilateral Instrument (MLI)
     
- MLI คืออะไรโครงสร้างเป็นเช่นไรวัตถุประสงค์คืออะไร
      - MLI เกี่ยวข้องและส่งผลอย่างไรกับ DTA
      - MLI เป็นการบังคับหรือเป็นทางเลือก
      - MLI ทําให้ผู้เสียภาษีต้องปรับตัวอย่างไร

24. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

 

 

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายภาษีอากร

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba