เทคนิคการทำสัญญาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และผลผูกพันทางกฎหมาย

รหัสหลักสูตร : 21/3526

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,420 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เทคนิคการทำสัญญาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์และผลผูกพันทางกฎหมาย

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
   

 

- พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ฉบับที่ 3 และฉบับที่ 4 บังคับใช้ปีพ.ศ. 2562
- 5 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่จะต้องชำระอากรสแตมป์เป็นตัวเงิน ตามกฎหมาย

ประเด็นปัญหา
- สัญญาเป็นสัญญาหรือไม่ เมื่อมีการทำธุรกรรมบน Social Media ประเภทต่างๆ Facebook, line, Skype,
Chat room, E-mail เป็นต้น
- อะไร คือ ข้อควรระวังในการทําสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
- สัญญาประเภทใดบ้าง  ที่จะต้องชําระอากรแสตมป์เป็นตัวเงิน ตามกฎหมาย
- การทําธุรกรรมประเภทใด? ไม่สามารถทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อสัมมนา

1. ความหมายของสัญญาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

2. ลักษณะของสัญญาธุรกิจ และประเภทของสัญญาต่างๆ
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสัญญา
- หลักการร่างสัญญาและการทำสัญญา
- ลักษณะของสัญญาที่ถูกต้อง

3. การทำสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) คืออะไร และมีองค์ประกอบอย่างไร?
- คำเสนอหรือคำสนองในการทำสัญญา
- การทำสัญญาอิเล็กทรอนิกส์สามารถปฏิเสธ ได้หรือไม่
- การแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (การแสดงเจตนาทางออนไลน์)
- ประเด็นปัญหาข้อสัญญาไม่เป็นธรรม
- ประเด็นปัญหา..อย่างไรถือว่าเป็นการตกลง

4. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิคส์ (สัญญาออนไลน์) การเกิดขึ้นของสัญญาและผลผูกพัน
ทางสัญญาอย่างไร?

5. ลักษณะของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (การแสดงเจตนาทางออนไลน์) เพื่อให้สามารถใช้
เกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญาให้ถูกต้องตามกฎหมาย

- การแสดงเจตนาผ่านสื่อออนไลน์แบบ Real Time การติดต่อสื่อสาร ผ่านสื่อออนไลน์ช่องทางใดได้บ้าง ?
- การแสดงเจตนาผ่านสื่อออนไลน์แบบ Non-Real Time การติดต่อสื่อสาร ผ่านสื่อออนไลน์ช่องทางใดได้บ้าง ?

6. การติดต่อสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ด้วยโปรแกรมหรือ Application แต่ละประเภท เป็นการทำสัญญา
หรือไม่และ ต้องยึดหลักกฎหมายในการทำสัญญาอย่างไร? (หลักการได้รับ และหลักการรู้)

- Skype
- Face Time.
- Chat Room
- Line Message
- Facebook Message
- e-mail.
- กรณีการใช้ Sticker, Clip VDO, Clip เสียง, รูปถ่าย

7. ความสำคัญของ “เวลาและสถานที่” ของสัญญา อิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญอย่างไร
- สัญญาอิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นเมื่อใด?
- กรอบระยะเวลาที่มีผลต่อ หน้าที่ความรับผิด
- เวลาในการส่งและรับ การแสดงเจตนา เกิดขึ้นเมื่อใด?
- ทำไม? จะต้องทราบสถานที่ที่เกิดสัญญา
- กรณีคู่สัญญามีสถานที่มากกว่า 1 แห่ง
- กรณีไม่ทราบเวลาที่สัญญาเกิดมีผลต่อกฎหมายอย่างไร

8. ความรับผิดและข้อผูกมัดของสัญญาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

9. การใช้ระบบอัตโนมัติในการตอบรับ เป็นการทำสัญญา อิเล็กทรอนิกส์หรือไม่
- การโต้ตอบระหว่างระบบอัตโนมัติกับบุคคล
- การโต้ตอบระหว่างระบบอัตโนมัติกับระบบอัตโนมัติ

10. การทำเป็นหนังสือ เอกสารต้นฉบับ และการรับรองสิ่งพิมพ์ ที่มีผลตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือไม่

11. กรณีเกิดความผิดพลาดในการทำสัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะต้องปฏิบัติอย่างไร?

12. การดำเนินการระงับข้อพิพาทที่เกิดจากการทำสัญญา อิเล็กทรอนิกส์

13. ความหมายของ “ตราสารอิเล็กทรอนิกส์”ตามหลักเกณฑ์ของ กรมสรรพากร

14. ผู้ให้บริการ คือใคร? และมีหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข อย่างไร?
- การจัดทำและยื่นขอเสียอากร
- ผู้มีหน้าที่เสียอากรเป็นผู้ให้บริการได้หรือไม่

15. “รหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์” คืออะไรตามความหมาย ของกรมสรรพากร

16. “5 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์” ที่จะต้องชำระอากรแสตมป์ เป็นตัวเงินตามกฎหมา
- สัญญาจ้างทำของ
- สัญญากู้ยืมเงิน หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร
- ใบมอบอำนาจ - ใบมอบฉันทะสำหรับให้ลงมติในที่ประชุมบริษัท
- สัญญาค้ำประกัน

17. ผู้เสียภาษีเป็นผู้ให้บริการเองได้หรือไม่

18. ถาม-ตอบ

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 656 0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba