การหักภาษี ณ ที่จ่าย e-Withholding Tax 2020 สำหรับนักบัญชี, ฝ่ายบุคคล

รหัสหลักสูตร : 21/1210

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การหักภาษี ณ ที่จ่าย e-Withholding Tax 2020
สำหรับนักบัญชี,ฝ่ายบุคคล


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ รอ ชม.
• สิทธิประโยชน์จากการใช้ e-Withholding Tax ที่พลาดไม่ได้
• พลิกโฉม!! การหักภาษี ณ จ่าย จาก 3% เหลือ 1.5% และ 2% และเงื่อนไขการใช้ e-Withholding Tax
• e-Withholding Tax กับวิธีการนำส่ง ภ.ง.ด.54, ภ.พ.36
• การใช้ e-Withholding Tax ในการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง พนักงาน ลูกจ้าง
• เข้าระบบ e-Withholding Tax แต่ไม่ได้นำส่งผ่านระบบ หรือนำส่งแบบกระดาษควบคู่ไปด้วย สรรพากรจะยังให้สิทธิหัก 2% หรือไม่

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

1. เตรียมรับมือกฎหมาย e-Withholding Tax 2020

2. ทางเลือกในการทำงานเพื่อนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ปัจจุบัน
- แบบกระดาษ
- ยื่นผ่านระบบ Internet
- ผ่านสถาบันการเงิน ด้วย ระบบ e-Withholding Tax

3. ข้อดีของการใช้ระบบ e-Withholding Tax

4. หน้าที่และความรับผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย e-Withholding Tax
- ผู้มีหน้าที่นำส่งภาษี (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) ทั้งในและต่างประเทศ
- ต้องออกหนังสือรับรองฯ ตาม ม. 50 ทวิ หรือไม่
- ต้องจัดทำรายงานภาษีเพื่อนำส่งภาษีหรือไม่
- หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จะออกรูปแบบใด
- การใช้ภาษีที่ถูกหักจะต้องปฏิบัติอย่างไร
- ใครคือผู้ที่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย

5. วิธีการทำงานและความเชื่อมโยงระหว่าง ผู้จ่ายเงิน ผู้รับเงิน และสถาบันการเงิน

6. e-Withholding Tax สามารถใช้ได้กับการชำระเงินช่องทางใดบ้าง
- โอนผ่านธนาคาร
- e-Wallet
- บัตรเครดิต
- เช็ค
- เงินสด
- ชำระค่าบริการบางส่วนผ่านธนาคาร และบางส่วนเป็นเงินสด จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร
- กรณีชำระเงินหลายช่องทาง จะต้องจัดทำรายงานในระบบ e-Withholding Tax อย่างไร

7. วิธีปฏิบัติตามกฎหมายเมื่อใช้ e-Withholding Tax ระหว่างผู้จ่ายเงิน กับ สถาบันการเงิน
- การแจ้งอัตราในการหักภาษี ณ ที่จ่าย กับสถาบันการเงิน
- รายละเอียดที่ต้องแจ้งเพื่อหักภาษี ณ ที่จ่าย
- ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้แก่ผู้รับหรือไม่
- ใช้อะไรเป็นหลักฐานการหักภาษี ณ ที่จ่าย
- ขั้นตอนและกระบวนการออกเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์

8. สิทธิประโชน์อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย ตามกฎหมาย e-Withholding Tax
- โปรโมชั่นของสรรพากร หัก ณ ที่จ่าย ใช้อัตราเดียว มีเงื่อนไขอย่างไร
- แนวโน้มอัตราภาษีที่ลดลงเมื่อใช้การนำส่งด้วยวิธี e-Withholding Tax
- ค่าขนส่ง ค่าโฆษณา ค่าบริการ ค่าเช่า ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร ต้องหักอัตราใด
- อัตรา 1% 2% 3% 5% 10% 15% จะยังคงใช้เหมือนเดิมหรือไม่

9. การใช้ e-Withholding Tax ในการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง พนักงาน ลูกจ้าง

10.ประเด็น e-Withholding Tax กับวิธีการนำส่ง ภ.ง.ด.54 และ ภ.พ.36
- การจ่ายเงินให้บริษัทต่างประเทศผ่านสถาบันการเงินใครเป็นผู้หักภาษี และนำส่งสรรพากร
- บุคคลธรรมดาโอนเงินผ่านธนาคารให้กับบริษัทในต่างประเทศ ธนาคารต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่

11.ระวัง!! การตีความรายได้ผิดประเภท มีผลกระทบต่อการเสียภาษีตัวอื่น

12.ความรับผิด และโทษ กรณีที่หักภาษีขาด หรือนำส่งภาษีไม่ครบ

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร

สถานที่

โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba