เลิกจ้างอย่างไร ถูกต้องตามกฎหมาย(Labour law in terms of lawful)

รหัสหลักสูตร : 21/3409

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เลิกจ้างอย่างไร ถูกต้องตามกฎหมาย
(Labour law in terms of lawful) 


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

 

ประเด็น!!!...กรณีเลิกจ้างเพราะวิกฤตโควิด-19 บทลงโทษ กรณีนายจ้างไม่จ่ายเงินชดเชย
• “เหตุสุดวิสัย” ตามกฎหมายแรงงานคืออะไร?
• การสิ้นสุดสัญญาจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไร? และจะได้รับเงินต่างๆ ในกรณีใดบ้าง?
• “ค่าจ้างเดือนสุดท้าย” ในการคำนวณค่าชดเชยจะต้องคิดอย่างไร? หากลูกจ้างโดนลดเงินเดือน ตามสถานการณ์
• การจ่ายและคำนวณเงินชดเชย การบอกกล่าวล่วงหน้า
• กรณีใดบ้าง? สามารถเลิกจ้างได้อย่างถูกต้องและเป็นธรร

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อสัมมนา

 

1. ประเด็นและปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับกาารเลิกจ้าง
• กรณีการเกษียณอายุของลูกจ้าง เป็นการสิ้นสุดการจ้างประเภทใด และ ประเด็นการเกษียณอายุ ของลูกจ้าง
ที่มีผลบังคับใช้กันยายน 2560
- กฎหมายใหม่กำหนดการเกษียณอายุเท่าไหร่
- ข้อบังคับบริษัทกำหนดการเกษียณ มากกว่าหรือน้อยกว่า กฎหมายกำหนด จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
- กรณีเกษียณอายุตามกำหนด และได้รับค่าชดเชยแล้ว และมีการจ้างงานต่อ จะต้องปฏิบัติอย่างไร และจะได้
รับสิทธิค่าชดเชยหรือไม่?
- กรณีตายก่อนเกษียณ จะได้รับเงินจากนายจ้างหรือไม่
• ประเภทของการสิ้นสุดสัญญาจ้าง ในการบริหารงานบุคคล ที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ต้องรู้
- ลาออก
- ปลดออก/ไล่ออก
- นายจ้างลูกจ้างตกลงเลิกจ้าง
- การเกษียณอายุของลูกจ้าง ***
- การสิ้นสุดสัญญาจ้าง
• กรณีการลงโทษทางวินัย ฝ่าฝืนข้อบังคับฯ การกระทำผิดร้ายแรง จะต้องดำเนินการอย่างไร
- การฝ่าฝืนข้อบังคับฯ
- การกระทำผิดซ้ำคำเตือน
- การออกหนังสือเตือน
- การออกใบผ่านงาน (Reference)
• กรณีการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม และการเลิกจ้างอย่างไร? ยุติปัญหานายจ้างลูกจ้าง
• กรณีการจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
- การคำนวณสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
• ค่าชดเชยและอัตราค่าชดเชย
- Update ค่าชดเชยและอัตราค่าชดเชย ตามกฎหมายแรงงานฉบับใหม่ 2561
- ค่าชดเชยพิเศษ มาตรา 120 และ ค่าชดเชยพิเศษ มาตรา 121
- บทลงโทษ กรณีนายจ้างไม่จ่ายเงินชดเชยให้กับลูกจ้าง

2. ขั้นตอนการลงโทษทางวินัย ก่อนการเลิกจ้าง จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
• การตักเตือน ด้วยวาจา
• ออกหนังสือเตือน
• เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย
• ภาคทัณฑ์
• พักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้าง

3. สาระสําคัญของหนังสือเตือนที่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน
• รายละเอียดของหนังสือเตือน
• วิธีการแจ้งคำเตือนให้ลูกจ้างทราบ
• หนังสือเตือนจะต้องมีพยานหรือไม่
• หนังสือเตือนจะต้องเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่

4. พิพากษาฎีกาที่สําคัญ เกี่ยวกับการเลิกจ้างที่นายจ้างและ HR ต้องรู้

5. ถามตอบปัญหาจากวิทยากร

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

สถานที่

โรงแรม S31
545 ซ.สุขุมวิท 31 กทม.10110
โทรศัพท์ :
02 260 1111
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba