กฎหมายคุ้มครองแรงงาน 69 มาตรา สําหรับการบริหารบุคคลในองค์กร**เลื่อน กรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่

รหัสหลักสูตร : 21/3424

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

กฎหมายแรงงานคุ้มครองแรงงาน 69 มาตรา
สําหรับการบริหารบุคคลในองค์กร
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

เตรียมพร้อม 7 สิทธิประโยชน์หลัก ที่นายจ้างต้องรู้บังคับใช้ปี 2562

วิทยากรโดย อาจารย์อนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ

หัวข้อสัมมนา

1. ความสำคัญและลักษณะของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน สำหรับการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์

2. กฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุคคลในองค์กรต้องทราบ เกี่ยวกับ นายจ้าง การจ้างงาน

    - มาตรา 5 นายจ้างต้องมีสิทธิหน้าที่อย่างไร?
    - มาตรา 11/1 การจ้างด้วยวิธีเหมาค่าแรง

3. การเรียกหรือรับหลักประกัน การประกันการทำงานที่ถูกต้องตาม กฎหมายแรงงาน

    - มาตรา 9 กรณีที่จ่ายเงินแก่ลูกจ้างล่าช้ากว่ากำหนดจะต้องเสียดอกเบี้ยจำนวนเท่าไหร่
    - มาตรา 10 การเรียกหรือรับหลักประกัน การประกันการทำงานทำได้หรือไม่และจะต้องปฏิบัติอย่างไร?

4. มาตรา 14/1 สัญญาที่ไม่เป็นธรรม ข้อตกลงในสัญญาจ้างระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง

5. มาตรา 15 ความเท่าเทียมทางเพศ การปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงของนายจ้าง

6. มาตรา 16 การล่วงเกินทางเพศ มีลักษณะอย่างไร?

7. มาตรา 17 การบอกกล่าวล่วงหน้า

    - จะต้องใช้กับสัญญาจ้างประเภทใด?
    - ข้อยกเว้นใดบ้าง? ไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า

8. การกำหนดวัน เวลา ทำงาน (Working Times) มีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย แรงงานอย่างไร

    - มาตรา 19 การคำนวณระยะเวลาการทำงานของลูกจ้าง
    - มาตรา 20 การนับระยะเวลาทำงาน กรณีลุกจ้างทำงานไม่ติดต่อกัน
    - มาตรา 23 ระยะเวลาในการทำงาน
    - มาตรา 24 ข้อกำหนดห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน การทำงานล่วงเวลา
    - มาตรา 25 การทำงานในวันหยุด จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
    - มาตรา 26 ชั่วโมงการทำงานล่วงเวลาต้องไม่เกินตามกฎหมายกำหนด
    - มาตรา 27 เวลาพัก นายจ้างจะต้องจัดให้ลุกจ้างพักอย่างไร?

9. จุดบอด...ที่มักเกิดความเข้าใจผิด เกี่ยวกับ วันหยุด (Holidays) วันลา (Leave for Absence)

    - มาตรา 28 วันหยุดประจำสัปดาห์
    - มาตรา 29 วันหยุดตามประเพณี
    - มาตรา 30 วันหยุดพักผ่อนประจำปี
    - มาตรา 32 วันลาป่วย
    - มาตรา 33 วันลาทำหมัน
    - มาตรา 34 วันลากิจ
    - มาตรา 35 วันลารับราชการทหาร
    - มาตรา 36 วันลาฝึกอบรม
    - มาตรา 41 วันลาเพื่อคลอดบุตร
    - มาตรา 67 ค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี

10. กฎหมายคุ้มครองแรงงานเกี่ยวกับ “ลูกจ้างหญิง” และการใช้แรงงาน “เด็ก”

    - มาตรา 38 งานที่ห้ามลูกจ้างหญิงทำ
    - มาตรา 39 งานที่ห้ามหญิงมีครรภ์ทำ
    - มาตรา 39/1 การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์
    - มาตรา 40 การคุ้มครองลูกจ้างหญิง
    - มาตรา 42, 43 การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์
    - มาตรา 44 – 48 การใช้แรงงานเด็ก
    - มาตรา 49 งานที่ห้ามลูกจ้างเด็กทำ
    - มาตรา 50 สถานที่ในห้ามลูกจ้างเด็กทำ

11. ปัญหาที่เกิดจาก ความไม่รู้ไม่เข้าใจ ความเคยชินเกี่ยวกับ ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด ทำให้เกิดการฟ้องร้องคดีแรงงาน การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าจ้างขั้นต่ำกรณีต่างๆ

    - มาตรา 61 ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน
    - มาตรา 62 ลูกจ้างทำงานในวันหยุด
    - มาตรา 63 ลุกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันหยุด
    - มาตรา 53 การจ่ายตอบแทนให้กับลูกจ้างชาย-หญิงในงานลักษณะเดียวกัน
    - มาตรา 54 การจ่ายค่าจ้างจะต้องจ่ายเป็นเงินสกุลใด
    - มาตรา 55 สถานที่ใด? เป็นสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา
    - มาตรา 65 ผู้ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา
    - มาตรา 66 ผู้ไม่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด
    - มาตรา 70 การกำหนดจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา
    - มาตรา 75 การหยุดกิจการชั่วคราว
    - มาตรา 76 การหักค่าจ้างทำได้หรือไม่ (49)

12. กฎหมายคุ้มครองแรงงานเกี่ยวกับ “สวัสดิการ”

    - มาตรา 95 เรื่องใดบ้าง? ที่นายจ้างต้องจัดสวัสดิการให้ลูกจ้าง
    - มาตรา 96 คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ
    - มาตรา 97 อำนาจหน้าที่คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ
    - มาตรา 98 การจัดประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ

13. “การควบคุม” ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

    - มาตรา 108 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
    - มาตรา 109 รายละเอียดเกี่ยวกับการร้องทุกข์
    - การจ้าง สภาพการจ้างและสภาพการทำงาน
    - มาตรา 115/1 แบบแสดงสภพาการจ้างงานและสภาพการทำงาน
    - มาตรา 116 – 117 การพักงานเพื่อสอบสวนความผิด

14. กรณี “ค่าชดเชย” จะต้องจ่ายในกรณีใดบ้าง?

    - มาตรา 118 นายจ้างจ่ายค่าชดเชยกรณีเลิกจ้างอย่างไร?
    - มาตรา 118/1 กรณีเกษียณอายุ
    - มาตรา 119 เหตุยกเว้นไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
    - มาตรา 120 การย้ายสถานประกอบกิจการ
    - มาตรา 121 การเลิกจ้างเนื่องจากเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
    - มาตรา 122 นายจ้างเลิกจ้างที่มีอายุการทำงานติดต่อกัน 6 ปีขึ้นไป

15. การยื่นคำร้องและพิจารณาคำร้อง

    - มาตรา 123 – 124 การยื่นคำร้องจะต้องปฏิบัติอย่างไร?
    - มาตรา 124/1 คดีอาญาระงับ
    - มาตรา 125 การฟ้องเพิกถอนคำสั่ง การวางเงินกับศาล

16. บทกำหนดโทษ ทั้งจำ ทั้ง ปรับ (มาตรา 144-157)

17. ถาม-ตอบ ปัญหาและแสดงความคิดเห็น

กำหนดการอบรม


วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน 2563

เวลา 09.00-16.00 น.

โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ถ.รัชดาภิเษก

(รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีรัชดาภิเษก)
อัตราค่าสัมมนา


สมาชิก (Tax/HR)

3,900 + VAT 273 = 4,173 บาท

บุคคลทั่วไป
4,600 + VAT 322 = 4,922 บาท

(รวมเอกสาร อาหารว่าง ชา กาแฟ อาหารกลางวัน)

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์อนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ

สถานที่

โรงแรม รามาดา บาย วินแดม กรุงเทพฯ เจ้าพระยาปาร์ค
247 ถนนรัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพมหานคร
10400
โทรศัพท์ :
02-2900125
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba