การวางแผนและการเสียภาษีของธุรกิจออแกไนเซอร์ (Organizer)

รหัสหลักสูตร : 21/1693

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,099 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การวางแผนและการเสียภาษีของธุรกิจออแกไนเซอร์ (Organizer)

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

• รวมสัญญา และภาษีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจออแกไนเซอร์ ในการรับจัดงานทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่
• ภาระภาษีจากการรับจัดงาน, Event, รับสินค้ามาแจก หรือขาย, รับหาผู้สนับสนุนจัดงาน,
รับออกแบบงาน, ให้เช่าอุปกรณ์จัดงานฯ
• ภาษีซื้อจากการไปจัดงานที่ต่างประเทศขอคืนได้หรือไม่ อย่างไร
• ปัญหาภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่มีผลกระทบต่อธุรกิจออแกไนเซอร์ (ค่าเช่าพื้นที่, เช่ารถ, ค่าขนส่ง,ค่าตอบแทน
ผู้สื่อข่าวหรือสื่อประชาสัมพันธ์, ค่าจ้างคนงานฯ)
• จ้างดารา, นักร้อง, Net Idol มาร่วมกิจกรรมในงานมีภาระภาษีหรือไม่ อย่างไร
• ประเด็นเอกสารการรับ-จ่ายเงิน การซื้อของจากตลาด และร้านค้าที่ไม่มีใบกำกับภาษีทำอย่างไรให้ลงรายจ่ายได้
สำหรับธุรกิจออแกไนเซอร์
• ความแตกต่างในภาระภาษีของธุรกิจออแกไนเซอร์จากการรับจัดงานให้หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชน
และบุคคลทั่วไป

 

วิทยากรโดย อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

หัวข้อสัมมนา

1. รูปแบบการประกอบธุรกิจออแกไนเซอร์ ที่มีผลกระทบต่อภาระภาษี
• รับจัด Event, Wedding Planner, ออกบูธ, งานแต่งงาน, รับจัดตกแต่งสถานที่, งานแฟร์ต่างๆ, งานแสดง
เช่น มหกรรมดนตรี (Music Festival)
• รับจัดนิทรรศการชั่วคราว และถาวร
• รับออกแบบและผลิตสื่อ, กิจกรรมการตลาด, สื่อการตลาด (Digital Margeting)
• รับจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการขาย, งานเปิดตัวสินค้า, รับจำหน่ายบัตรการแสดง/บัตรเข้าร่วมงาน/คอนเสิร์ต
• รับหาผู้สนับสนุนการจัดงาน หรือสปอนเซอร์ (Sponser)

2. ประเภทสัญญาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจออแกไนเซอร์
• สัญญาจ้างทำของ, จ้างเหมา, จ้างขนส่ง เช่น จ้างทำอุปกรณ์ตกแต่ง, ทำมาสคอต, จ้างออกแบบ, จ้างเหมาติดตั้ง
ระบบไฟฟ้า, จ้างเหมาตกแต่ง
• สัญญาซื้อขาย เช่น ซื้อดอกไม้สด/ปลอม, อุปกรณ์ตกแต่ง, ผ้า, อุปกรณ์ไฟฟ้า
• สัญญาจ้างพนักงาน
• สัญญาเช่า เช่น เช่าโกดังสินค้า, เช่าห้องหรือสถานที่จัดงาน, เช่าเวที, เช่าระบบไฟ-เสียง, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ
• สัญญาจ้างผู้รับเหมาช่วง (Subcontract) ทั้งบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล

3. ภาระภาษีที่มีในธุรกิจออแกไนเซอร์
• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
• ภาษีเงินได้นิติบุคคล
• ภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
• ภาษีอากรแสตมป์

4. รายได้จากธุรกิจออแกไนเซอร์มีภาระภาษีอะไรบ้าง อย่างไร
• รายได้จากค่าจ้างเหมาจ่ายในการจัดงาน, Wedding Planner, Event, ออกบูธ, เปิดตัวสินค้า, จัดนิทรรศการ
• รายได้จากการให้เช่าอุปกรณ์ในการจัดงาน, โครงสร้างบูธ, เวที, ระบบไฟ, ดอกไม้ ฯลฯ
• รายได้จากส่วนแบ่งค่านายหน้าในการจัดหาอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการจัดงาน, ร้านดอกไม้, ของชำร่วย, ร้านเช่าชุด,
ร้าน Studio
• รายได้จากการรับหาผู้สนับสนุนการจัดงาน หรือสปอนเซอร์ (Sponser)
• รายได้จากการขายสินค้าได้ตามเป้า
• รายได้จากการรับสินค้ามาแจก (Sampling) และขายรับรู้รายได้อย่างไร ใครเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
• รายได้จากการทำโปรโมชั่นส่งเสริมการขาย, กระตุ้นยอดขายในงานจัดแสดงและขายสินค้าของลูกค้า

5. ค่าใช้จ่าย และการลงรายจ่ายของธุรกิจออแกไนเซอร์, Wedding Planner, รับจัด Event
• เงินเดือนพนักงานในบริษัท, เงินเดือนกรรมการ, เงินปันผล, สวัสดิการฯ
• ค่าเช่าออฟฟิศ, ค่าตกแต่งออฟฟิศ
• ค่าเช่าโกดังเก็บของ
• ค่าเช่ารถ, เวที , เครื่องเสียง, ระบบไฟ
• ค่าเช่าสถานที่จัดงาน พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก ค่าน้ำ ค่าไฟ ทั้งเช่าจ่ายรายวัน และจ่ายเหมา
• ค่าจ้างคนงานรายครั้ง, ค่าจ้างขนของ, ค่าจ้างจัดดอกไม้, ค่าจ้างทำงานโครงสร้าง
• ค่าจ้างออกแบบ 2D – 3D Graphic, Creative, Presentation, Design ทั้งจ้างผ่านบุคคลโดยตรงและ
ผ่านบริษัทรับออกแบบ
• ค่าพาหนะคนงาน
• ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงาน
• รายงานสินค้าคงเหลือจากการรับมาแจกและขาย
• ค่าจ้างดารา, นักร้อง, นักแสดง, Net Idol มาร่วมกิจกรรมภายในงาน
• ค่าใช้จ่ายจากการเช่า และซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ภายในงาน
• ค่าใช้จ่ายจากการเช่า และซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ภายในงาน
• เปรียบเทียบภาระภาษีจากการซื้อรถเพื่อใช้ในกิจการกับเช่ารถเพื่อใช้เป็นรายครั้ง ทั้งรถกระบะ รถบรรทุก และรถยนต์

6. ปัญหาการรับรู้รายได้ และภาระภาษีของธุรกิจออแกไนเซอร์กับการรับจัดงานระหว่างประเทศ
• ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรับจัดงานที่ต่างประเทศจะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่ อย่างไร สามารถขอคืนใน
ไทยได้หรือไม่
• การรับรู้รายได้จากการรับจัดงานที่ต่างประเทศ, นิทรรศการลักษณะ On tour หลายประเทศ จากผู้ว่าจ้างทั้งในประเทศ
และต่างประเทศต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
• ภาษีซื้อจากการไปให้บริการที่ต่างประเทศสามารถขอคืนได้หรือไม่ อย่างไร
• ค่าขนส่งสินค้า จากไทยเพื่อไปจัดงานที่ต่างประเทศมีภาระภาษีอย่างไร

7. ปัญหาภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่มีผลกระทบต่อธุรกิจออแกไนเซอร์
• ค่าเช่าพื้นที่ อัตราภาษีที่หัก และความแตกต่างระหว่างการให้เช่า และการให้บริการพื้นที่
• ค่าเช่ารถ, เช่ารถพร้อมขนส่ง
• ค่าขนส่ง, ค่าขนส่งพร้อมติดตั้ง (ฉาก, เวที, เครื่องเสียง)
• ผู้ว่าจ้างเป็นบุคคลธรรมดา, นิติบุคคล, หน่วยงานราชการ ต้องถูกหักภาษีหรือไม่ อัตราเท่าไหร่
• ค่าตอบแทนผู้สื่อข่าว และช่องทางสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อร่วมทำข่าวในงานเปิดตัวสินค้า

8. ภาษีมูลค่าเพิ่มกับธุรกิจออแกไนเซอร์
• เมื่อไหร่จึงต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และเมื่อจดแล้วมีหน้าที่อย่างไรบ้าง
• ปัญหาจุด Tax point ในการออกใบกำกับภาษี เมื่อใดที่ต้องออก
• รับเงินค่ามัดจำ และค่าจ้างภายหลัง จะออกใบกำกับภาษีอย่างไร และเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ จากยอดใด
• การจัดทำรายงานภาษีซื้อ ภาษีขายของธุรกิจออแกไนเซอร์
• รายได้จากการจัดงานในไทยของผู้ว่าจ้างต่างประเทศ ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่

9. เอกสารสำคัญประกอบการลงรายจ่ายที่ผู้ทำธุรกิจออแกไนเซอร์ต้องรู้
• หลักการออกใบกำกับภาษี, ใบเสร็จรับเงิน และข้อความที่ต้องมีเพื่อให้สรรพากรยอมรับ
• หลักเกณฑ์และวิธีการออกใบเพิ่มหนี้-ใบลดหนี้
• ซื้อของจากร้านค้าในตลาด, ซื้อของไม่มีบิล หรือบิลเงินสด ทำอย่างไรให้ลงรายจ่ายบริษัทได้
• ใบสำคัญรับเงิน เอกสารสำคัญและใช้มากที่สุดของธุรกิจออแกไนเซอร์ ต้องมีเอกสารอะไรแนบบ้าง
จึงจะไม่ถูกตรวจสอบ
• ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรับจัดงานต่างประเทศ ลงรายจ่ายอย่างไร ขอคืนภาษีซื้อได้หรือไม่
• การออกใบกำกับภาษีกรณีถูกจ้างให้ไปจัดงานที่ต่างประเทศ

10. ค่ารับรองในธุรกิจออแกไนเซอร์ที่สรรพากรยอมรับ

11. เทคนิคการประกอบธุรกิจออแกไนเซอร์อย่างไรไม่ให้ถูกสรรพากรตรวจสอบ พร้อมการวางแผนภาษี

12. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพ
138 Sukhumvit Soi 4, Sukhumvit Road, Bangkok 10110
โทรศัพท์ :
02 254 0404
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีนานา ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba