ประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลและการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินปันผลตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

รหัสหลักสูตร : 21/2920

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับเงินปันผล

1. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ขั้นตอน การจ่ายเงินปันผล การตั้งสำรอง ของบริษัทจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การจ่ายเงินปันผลบริษัทมหาชนจำกัด ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด
3. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การจ่ายปันผลปฏิบัติอย่างไรให้กรมสรรพากรยอมรับ และสามารถนำไปใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้
4. หลักเกณฑ์การทางบัญชี และการแสดงรายการในงบการเงินที่สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงินปันผล
5.การจ่ายเงินปันผล ต้องมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อใดและอย่างไร
6. การจ่ายเงินปันผลปีละหลายๆครั้งสามารถกระทำได้หรือไม่
7. การจ่ายเงินปันผล สามารถจ่ายเป็นทรัพย์สิน หุ้น หรือทรัพย์สินอื่นๆนอกจากเงินสามารถกระทำได้หรือไม่
8. การจ่ายเงินปันผล นักบัญชีจะต้องจัดเตรียมและดำเนินการในเรื่องใดบ้าง
9. เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติให้จ่ายเงินปันผล แนวปฏิบัติที่ถูกต้องควรทำอย่างไร
- กรณีจ่ายเป็นเงินปันผล
- กรณีจ่ายเป็นตั๋วเงินปันผล
- กรณีจ่ายเป็นหุ้นปันผล
10. การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชำระด้วยเงินสดนักบัญชีต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง
11. การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่มีทางเลือกชำระด้วยเงินสด 
12. การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่เงื่อนไขของข้อตกลงให้คู่สัญญาเลือกวิธีการชำระ 
13. รายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ชำระด้วยเงินสด
14. การตั้งสำรองไว้สำหรับการจ่ายเงินปันผลจะต้องบันทึกบัญชีอย่างไรจนถึงการจ่ายเงินปันผลจริง
15. บริษัทประกาศจ่ายแบ่งส่วนแบ่งกำไรปี ปัจจุบัน แต่ตั้งเป็นค้างจ่าย และได้มาจ่ายเงินปันผลในปีถัดไป ผู้ที่ได้รับส่วนแบ่งจะถือเป็นเงินได้บุคคลธรรมดา ในปีที่ตั้งค้างจ่ายหรือปีที่จ่ายเงินจริง
16.การจ่ายเงินปันผลไม่ครบตามจำนวนที่ตั้งไว้ จะต้องบันทึกบัญชีอย่างไร และต้องทำการปรับปรุงบัญชีหรือไม่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี
17. บริษัทในปีปัจจุบัน มีผลขาดทุน แต่ยังมีกำไรสะสมอยู่ จะสามารถจ่ายเงินปันผลได้หรือไม่
18. บริษัทมีกำไร ตั้งแต่ปี ก่อนๆ อยู่จำนวนหนึ่ง จะจ่ายเงินปันผลยอดจ่ายอย่างไร แบ่งเป็นปีๆ หรือไม่ และต้องบันทึกบัญชีอย่างไรให้ถูกต้อง
19.วิธีการบันทึกบัญชีการจ่ายเงินปันผลระหว่างดำเนินการ และรหัสบัญชีของการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล จะจัดเป็นประเภทของค่าใช้จ่าย หนี้สิน หรือส่วนของทุน จึงจะถูกต้อง34. ปัญหาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลใช้หลักเกณฑ์ใด และการตั้งสำรอง นักบัญชีจะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง
20. การลงทุนในห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ เมื่อมีการจ่ายส่วนแบ่งกำไร จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างไร
21. ธุรกิจมีผลขาดทุนสะสมอยู่แต่ปัจจุบันกำไรจะจ่ายเงินปันผลทำได้หรือไม่
22. ธุรกิจมีกำไรสะสมอยู่แต่ปัจจุบันขาดทุนจะจ่ายเงินปันผลทำได้หรือไม่
23. การจ่ายเงินปันผลของกิจการที่มี BOI และ NON-BOI มีวิธีคิดอย่างไร
24. ไม่เคยจ่ายเงินปันผลเลย และมีกำไรสะสมมากกว่าทุนนักบัญชีควรทำอย่างไร


ประเด็นสำคัญอื่นๆที่นักบัญชีต้องทราบ
25. แนวปฏิบัติ และข้อควรระวังในการเชิญประชุมผู้ถือหุ้น
26. ด้านผู้รับเงินปันผล รายได้อย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
27. ด้านผู้จ่ายเงินปันผลจะบันทึกและปฏิบัติทางบัญชีอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน
28. วิธีการทางบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า ตามมาตรฐานการบัญชี
29. วิธีการทางบัญชีเกี่ยวกับการลงทุนเผื่อขาย ตามมาตรฐานการบัญชี 
30. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์20. การรับรู้รายได้ เกี่ยวกับรายได้เงินปันผล ที่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
31. การนำเสนอรายงานทางการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นให้ถูกต้อง
32. บริษัทมีกำไรสะสม จะจ่ายส่วนแบ่งกำไรให้หุ้นส่วนเพื่อไปลงทุนเพิ่ม จะต้องแบ่งจ่ายอย่างไร ต้องตั้งสำรองหรือไม่ และลงบันทึกบัญชีอย่างไรให้ถูกต้อง
33. การเสียภาษีเงินได้สำหรับเงินปันผลที่ได้รับ กรณีบุคคลธรรมดา นิติบุคคล
34. หน้าที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายของผู้จ่ายเงินปันผล ที่นักบัญชีต้องระมัดระวังและต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง
* ผู้จ่ายเป็น BOI    
* ผู้จ่ายเป็นนิติบุคคลในตลาดหลักทรัพย์     
* ผู้จ่ายเป็นนิติบุคคลทั่วไป
35. เครดิตภาษีเงินปันผลบุคคลธรรมดามีเครดิตเงินปันผลอย่างไร นิติบุคคลมีหรือไม่
36. การบันทึกบัญชี สำหรับผู้จ่ายเงินปันผล สำหรับผู้รับเงินปันผล
37. เครดิตเงินปันผลผิดพลาด ออกหนังสือรับรองผิดระบุไม่ครบถ้วน ไม่ชัดเจนตามคำสั่งกรมสรรพากร นักบัญชีต้องแก้ไขอย่างไรให้ถูกต้อง
38. ดอกเบี้ยรับ ดอกบี้ยจ่าย เงินปันผลรับ และเงินปันผลจ่ายอยู่ในกิจกรรมใดใบงบกระแสเงินสด
39. ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน
40.การตั้งสำรองสำหรับการจ่ายเงินปันผลทางบัญชีจะบันทึกบัญชีอย่างไร
41. เมื่อมีการประกาศจ่ายเงินปันผลจะต้องบันทึกบัญชีอย่างไร
42. กรณีตั้งสำรองไม่ครบ แล้วจะมีการตั้งสำรองในปีต่อไปจะบันทึกบัญชีอย่างไร
43. แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกบัญชีหุ้นปันผล
44. ตัวอย่างและการคำนวณการบันทึกบัญชีหุ้นปันผล


กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล

45. บริษัทผู้จ่ายเงินปันผลเสียภาษีในอัตรา 20%  ,25% , 30%,  ผู้รับจะได้รับเครดิตภาษีเงินปันผลอย่างไร นักบัญชีต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง
46. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลที่สำคัญที่นักบัญชีต้องทราบและต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง40. กรณีศึกษาการจ่ายเงินปันผลต้องจ่ายจากเงินกำไรทางบัญชี มีวิธีการในการปฏิบัติและบันทึกบัญชีอย่างไร
47. กรณีศึกษาการแสดงรายการจ่ายเงินปันผลในงบการเงิน ปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามที่มาตรฐานการบัญชีกำหนด 
48. กรณีศึกษาการสำรองเงินไว้ตามกฎหมาย ปฏิบัติอย่างไรจึงจะจ่ายเงินปันผลได้ถูกต้อง
49. กรณีศึกษากิจการไม่เคยจ่ายเงินปันผลมาก่อนเพราะขาดทุนมาตลอด ปรากฏปีล่าสุดมีกำไรมากและต้องการจ่ายเงินปันผล (มากกว่าทุนจดทะเบียน) ต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
50. กรณีปัญหาการจ่ายเงินปันผลประเด็นทางด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ปฏิบัติอย่างไรในฐานะผู้จ่ายเงินปันผล และผู้รับเงินปันผล
51. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

ดร.มนตรี ช่วยชู

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
โทรศัพท์ :
02 2305 6000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba