โครงการอบรมนักบัญชีมืออาชีพ รุ่นที่ 54 Professional Accountants Program

รหัสหลักสูตร : 21/2214

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 38,520 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 40,660 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



โครงการอบรมนักบัญชีมืออาชีพ รุ่นที่ 54
Professional Accountants Program


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 33 ชม. อื่นๆ 9 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 33 ชม. อื่นๆ 9 ชม.

 

ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์ (ดร.ธีรวิทย์ กาปัญญา) อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์ อาจารย์อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์
ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์ ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข ดร.สมศักดิ์ ประถมศรีเมฆ อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
และอาจารย์ธนเดช มหโภไคย

หัวข้อสัมมนา

1. บทบาทและคุณค่าของนักบัญชีมืออาชีพในยุค  Disruptive Technology สิ่งที่นักบัญชีต้อง
ก้าวผ่าน

• การสร้างมูลค่างานบัญชี
• การทํางาน เสนองานบัญชีกับนายจ้างต่างชาติ
• การเป็นนักบัญชีมืออาชีพที่รอบรู้ทั้งบัญชีและภาษี
• การเปลี่ยนแปลงบทบาทของนักบัญชี
• การคิดและสร้างสรรค์รายงานรูปแบบใหม่ที่สะท้อนภาพกลยุทธ์และ Business Model ขององค์กรที่มีส่วนเอื้อ
ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารและผู้มีส่วนได้เสียอย่างรอบด้านได้มากขึ้น (แนวคิด Integrated Reporting)

2. การจัดทํารายงานทางบัญชีการเงินกับในรูปแบบ ของบัญชีบริหารแบบมืออาชีพควรจัดทําอย่างไร
• ความสําคัญในการจัดทํารายงานการบัญชีและการเงิน
• รายงานการเงินที่นักบัญชีจะต้องจัดทําเพื่อประโยชน์ต่อการตัดสินใจและการบริหารกิจการ
• การจัดทํารายงานการเงินเพื่อสนองต่อความต้องการของฝ่ายบริหารให้ได้รับประโยชน์สูงสุด
• ผลกระทบต่อการจัดทํารายงานการเงินที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์และไม่ทันตามกําหนดเวลาที่ผู้บริหารต้องการ

3. เรียนรู้การวางระบบบัญชีให้เหมาะสมกับเทคโนโลยียุคดิจิทัลอย่างมืออาชีพ
• การวางระบบบัญชีให้ประสบความสําเร็จจะต้องพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง
• เมื่อนําระบบบัญชีออกมาใช้จะต้องมีการติดตาม ปรับปรุงพัฒนาระบบงานบัญชีอย่างไรให้สอดคล้องกับกิจการ
• ข้อควรระมัดระวังในการวางระบบเอกสารหลักฐานทางบัญชีและภาษีอากร ประเด็นความผิดพลาดที่มักเกิดขึ้น
• เจาะลึกการวางระบบบัญชีอย่างมืออาชีพ เช่น ระบบสินค้าคงเหลือ ระบบทรัพย์สิน ระบบเงินสดรับ-จ่าย
ระบบลูกหนี้และเจ้าหนี้

4. การประเมินความเสี่ยงและการออกแบบการควบคุมภายในที่สอดคล้องและทรงประสิทธิภาพ
ทําได้อย่างไรในยุคดิจิทัล

• นักบัญชีมีบทบาทต่อการควบคุมภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
• ให้องค์กรได้อย่างไร
• การวางระบบควบคุมภายในของระบบปฏิบัติการต่าง ๆ
• ในองค์กรและการนําออกใช้
• เทคนิคการวางระบบควบคุมภายในให้เชื่อมโยงกับ
• การป้องกันการเกิดทุจริต
• แนวทางการควบคุมภายในที่ดีเพื่อป้องกันการทุจริต
• เทคนิคการประเมินความเสี่ยงของการเกิดทุจริตและ
• เครื่องมือที่ใช้ประเมินความเสี่ยงในระบบต่าง ๆ

5. อัพเดทมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินทั้งระบบ
• Update มาตรฐานรายงานทางการเงินและแนวปฏิบัติที่สําคัญ
• ก้าวทันมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่ที่จะถูก
• นํามาใช้ในอนาคต
• การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่
• จะส่งผลกระทบต่องบการเงิน
• เจาะลึกมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
• ที่นักบัญชีจะต้องให้ความสําคัญและปฏิบัติ
• ประเด็นปัญหาที่มักพบในการจัดทําบัญชี แนวปฏิบัติที่ถูกต้อง
• สําหรับกิจการ PAEs,NPAEs

6. การวางกลยุทธ์องค์กรผ่านการจัดทํางบประมานและการติดตามผล
• ความจําเป็นและความสําคัญของการจัดทํางบประมาณ
• งบประมาณดําเนินการและงบประมาณการเงินต่างกันอย่างไร
• บทบาทของนักบัญชีบริหารในการจัดทํางบประมาณ
• บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดทํางบประมาณ
• ขั้นตอนในการจัดทํางบประมาณ
• วิธีปฏิบัติ (Workshop) การจัดทํางบประมาณดําเนินงานและงบประมาณการเงิน
- งบประมาณการขาย
- งบประมาณการผลิต
- งบประมาณวัตถุดิบทางตรง
- งบประมาณค่าแรงงานทางตรง
- งบประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิต
- งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
- งบประมาณการลงทุน
- งบประมาณเงินสด
- งบประมาณกําไรขาดทุน
- งบประมาณแสดงฐานะทางการเงิน
- งบประมาณกระแสเงินสด
• การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการจากการจัดทํางบประมาณ
- อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
- อัตราส่วนวัดความสามารถในการดําเนินงาน
• การควบคุมงบประมาณ และการวิเคราะห์ผลต่าง
• ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทํางบประมาณ

7. การวิเคราะห์งบการเงินและการนําเสนออย่างมืออาชีพ
• ความสําคัญและความจําเป็นในการวิเคราะห์งบการเงินที่นักบัญชีต้องคํานึงถึง
• ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์งบการเงินต่อกิจการและนักบัญชี
• ประเภทของการวิเคราะห์งบการเงิน และการเลือกวิธีวิเคราะห์งบการเงินอย่างไรจึงจะทําให้ได้รับประโยชน์สูงสุด
• สิ่งที่ผู้บริหารคาดหวังจากรายงานวิเคราะห์งบการเงิน
• เทคนิคการวิเคราะห์งบการเงินเพื่อการตัดสินใจและบริหาร
• เทคนิคการใช้อัตราส่วนทางการเงินในการวิเคราะห์ปัญหาตรวจสอบและพยากรณ์แนวโน้มของธุรกิจ
• เทคนิคการนําผลการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการตนเอง คู่แข่ง ลูกค้า ให้ได้รับประโยชน์สูงสุด
• การนําข้อมูลจากการวิเคราะห์ไปใช้ในการวางแผนและตัดสินใจเพื่อเสนอแนะผู้บริหาร

8. อัพเดทกฎหมายภาษีอากรทั้งระบบและการเชื9อมโยงภาษีให้เข้ากับธุรกิจแต่ละประเภท
• ความรู้และความจําเป็นของภาษีอากรที่นักบัญชีมืออาชีพต้องทราบ
• ประเด็นความผิดพลาดและภาระภาษีที่กิจการมักถูกประเมิน
• UPDATE กฎหมายภาษีอากรที่ออกใหม่
• ภาระภาษีอากรที่นักบัญชีมืออาชีพต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
• ภาษีเงินได้นิติบุคคล
- หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคํานวณกําไรสุทธิ
- รายได้และรายจ่าย ที่ลดลงมีผลต่อการตรวจสอบของสรรพากรอย่างไร
- การรับรู้รายได้และรายจ่าย และการยกเว้นภาษี
- รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากที่จ่ายจริงและสิทธิประโยชน์ทางภาษี
- การแก้ไขปัญหาของรายจ่ายต้องห้ามเพื่อให้สรรพากรยอมให้ถือเป็นรายจ่ายได้
• ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
- การวางระบบการหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อการทํางานที่ถูกต้อง
- หลักเกณฑ์ที่สําคัญในการหักภาษี ณ ที่จ่าย และประเด็นที่นักบัญชีจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
- บทกําหนดโทษในกรณีไม่ได้หักภาษี หรือ หักไม่ครบไม่ถูกต้อง
- เงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องหักภาษี  ณ ที่จ่าย
- สารพันปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่าย เช่น รับจ้างทําของค่าขนส่ง ค่าเช่า
• ภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ความรับผิดและฐานภาษีในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ปัญหาการออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ตามหลักเกณฑ์ใหม่
- การจัดทํารายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ภาษีซื้อและภาษีซื้อต้องห้าม
- ข้อควรระมัดระวังความผิดพลาดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่มักถูกสรรพากรประเมิน
• ภาษีธุรกิจเฉพาะ
- กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะและกิจการที่ได้รับยกเว้น
- อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะและข้อยกเว้น
- จุดที่บริษัททั่วไปต้องระวังเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ
- ปัญหาการทํากิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
• อากรแสตมป์
- ข้อควรระวังเกี่ยวกับอากรแสตมป์

9. ประเด็นความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชี (TAS)มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
(TFRS)และประมวลรัษฎากร (Revenue Code)

• เทคนิคการจัดระบบการตรวจสอบภาษีอากรที่นักบัญชีควรจัดทํามีอะไรบ้าง
• หลักเกณฑ์ในการปรับปรุงกําไรสุทธิตามมาตรฐานการบัญชีที่แตกต่างกับประมวลรัษฎากรแนวปฏิบัติที่สําคัญ
• ผลกระทบต่อความแตกต่างของมาตรฐานการบัญชีกับภาษีอากรที่ต้องปรับปรุงกําไรสุทธิ (บวกกลับ) มีประเด็น
อะไรบ้างที่ต้องระมัดระวัง
- การด้อยค่าของสินทรัพย์
- สินค้าคงเหลือ
- นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด
- ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- รายได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า
- ผลประโยชน์ของพนักงาน
-  ต้นทุนการกู้ยืม
- ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น

10. การวางแผนภาษีและการเลือกใช้กลยุทธ์ต่างๆเพื่อประโยชน์ขององค์กร
• ความสําคัญและประโยชน์ที่จะได้รับจากการวางแผนภาษี
• นักบัญชีจะวางแผนภาษีอย่างไรให้กิจการได้รับประโยชน์สูงสุด
• จะวางแผนภาษีอย่างไรให้เสียภาษีอย่างประหยัดและถูกกฎหมาย
• เคล็ด (ไม่) ลับในการวางแผนภาษี รายได้และรายได้ที่ยกเว้นภาษี
• เคล็ด (ไม่) ลับในการวางแผนภาษี รายจ่ายและรายจ่ายต้องห้ามทําอย่างไรให้ถือเป็นรายจ่ายได้
• เคล็ด (ไม่) ลับในการวางแผนภาษี รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้
• เพิ่มขึ้นจากที่จ่ายจริง และการเลือกใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสูงสุด
• ลับเหลี่ยมคมในการวางแผนภาษี เอกสารรายจ่าย ทําอย่างไรให้ถือเป็นรายจ่ายได้ สรรพากรยอมรับ
• ลับเหลี่ยมคมในการวางแผนภาษี ภาษีซื้อและภาษีซื้อต้องห้ามและการขอคือภาษีซื้อ
• ลับเหลี่ยมคมในการวางแผนภาษี หัก ณ ที่จ่าย หักอย่างไรไม่ให้เสียเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
• ลับเหลี่ยมคมในการวางแผนภาษี การส่งเสริมการขายทําอย่างไรให้เสียภาษีถูกต้องและประหยัดภาษี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
33:0 9:0 33:0 9:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์
ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์
อาจารย์ธนเดช มหโภไคย
อาจารย์อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์
ผศ.ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข
ดร.สมศักดิ์ ประถมศรีเมฆ
ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba