ประเด็นปัญหามาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์

Course Code : 21/2716

Course Schedule

Course Price

Members Magazine : 4,280 Thai Baht ( Include VAT )
Non Members : 5,029 Thai Baht ( Include VAT )

Course Detail

1. มาตรฐานรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน

2. การจัดเรียงรายการสินทรัพย์ในงบการเงินที่ถูกต้องตามมาตรฐาน

3. กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน ที่นำมาใช้ในการเปิดเผยรายการมีผลต่อการแสดงรายการสินทรัพย์หรือไม่และต้องปฏิบัติอย่างไร

4. รายการสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องจะมีวิธีการรับรู้รายการและเปิดเผยอย่างไร

5. รายการสินทรัพย์หมุนเวียนประเภท ลูกหนี้เงินยืมกรรมการ ลูกหนี้เงินกู้ยืมพนักงาน เงินสดย่อยเงินทดรองจ่าย จะมีประเด็นการเปิดรายการอย่างไร

6. จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องทบทวนประมาณการค่าเผื่อที่เกี่ยวกับสินทรัพย์หมุนเวียน เช่นลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการประกอบกิจการรายการเงินยืมกรรมการ หากต้องดำเนินการจะมีวิธีการปฏิบัติอย่างไร

7. ระดับของการถือครองเงินลงทุนที่มีผลต่อการแสดงรายการสินทรัพย์ และการจัดทำงบการเงิน เพื่อจะแสดงเป็นบริษัทย่อย บริษัทร่วม มีวิธีการพิจารณารายการนี้อย่างไร

8. ความหมายของสินค้าคงเหลือคืออะไร

9. วิธีในการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือมีอะไรบ้าง

10. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือประกอบด้วยอะไรบ้าง

11. การคำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือมีอะไรบ้าง

12. การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องและแบบสิ้นงวดแตกต่างกันอย่างไร

13. เมื่อใดกิจการรับรู้สินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่าย

14. สินค้าคงเหลือต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

15. ความหมายของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์คืออะไร

16. ลักษณะของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เป็นอย่างไร

17. แนวคิดของการวัดมูลค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มี

อะไรบ้าง

18. การวัดมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ต้องปฏิบัติอย่างไร

19. การวัดมูลค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ภายหลังการรับรู้เมื่อเริ่มแรกต้องทำอย่างไร

20. การบัญชีเกี่ยวกับการด้อยค่าของสินทรัพย์

21. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอายุใช้งานของสินทรัพย์

22. การจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร

23. การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ที่คล้ายกัน แตกต่างกันและการแลกซื้อทรัพย์สินเพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี

24. การจำหน่ายทรัพย์สินและการทำลายทรัพย์สิน

25. ส่วนประกอบของราคาทุนประกอบด้วยอะไร

26. กรณีศึกษาการวัดมูลค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

27. วิธีปฏิบัติในการได้มาซึ่งที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีหลักการอย่างไรบ้าง

28. หลักเกณฑ์การรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุน

29. การแลกเปลี่ยนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ทำอย่างไร

30. การรื้อ การขนย้ายและการบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ต้องปฏิบัติอย่างไร

31. รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์ต้องปฏิบัติอย่างไร

32. การเลิกใช้และการจำหน่ายสินทรัพย์ต้องปฏิบัติอย่างไร

33. หลักเกณฑ์การด้อยค่าของสินทรัพย์

34. ความหมายของค่าเสื่อมราคาคืออะไร

35. แนวคิดเกี่ยวกับการคิดค่าเสื่อมราคา

36. ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อค่าเสื่อมราคา

37. วิธีคิดและการเริ่มคิดค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินที่สร้างขึ้น จะต้องคิดอย่างไร

38. กรณีซื้อที่ดินเก่ามาปรับปรุงเพื่อขายต่อในการบันทึกบัญชีควรแยกราคาอาคารและที่ดินเพื่อคิดราคาจะใช้ราคาอะไรในการแยกมูลค่าทรัพย์สินที่ได้มา

39. หลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าค่าใช้จ่ายใดถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องคิดค่าสึกหรอหรือคิดค่าเสื่อมราคา

40. การตัดมูลค่าตามบัญชีออกจากบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต้องปฏิบัติอย่างไร

41. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ต้องเปิดเผยอะไรในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

42. ต้นทุนการกู้ยืม ความหมายและหลักเกณฑ์ที่สำคัญ

43. ส่วนประกอบของต้นทุนการกู้ยืม ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

44. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไรที่จะถือเป็นค่าใช้จ่าย

45. ต้นทุนการกู้ยืมมีหลักเกณฑ์อย่างไรที่จะถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์

46. เมื่อไหร่จะหยุดพักการรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์

47. เมื่อไหร่จะถือเป็นการสิ้นสุดการรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์

48. ต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้างของต้นทุนการกู้ยืม

49. กรณีศึกษา แนวปฏิบัติของต้นทุนการกู้ยืม

50. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนคืออะไร

51. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนจะรับรู้รายการและวัดมูลค่าอย่างไร

52. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาแยกต่างหากคืออะไร

53. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการรวมธุรกิจจะมีการวัดมูลค่ายุติธรรมอย่างไร

54. แนวปฏิบัติของค่าความนิยมที่เกิดขึ้นภายใน

55. เมื่อไหร่จะรับรู้สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเป็นค่าใช้จ่าย

56. วิธีการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

57. อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

58. ระยะเวลาในการตัดจำหน่ายและวิธีการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

59. การจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนต้องทำอย่างไร

60. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนคืออะไร

61. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนต้องคิดค่าเสื่อมราคาเหมือนที่ดินอาคาร อุปกรณ์หรือไม่

62. กรณีศึกษาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจะรับรู้รายการและวัดมูลค่าอย่างไร

63. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจะวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการอย่างไร

64. นโยบายการบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

65. วิธีมูลค่ายุติธรรมกับวิธีราคาทุนของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแตกต่างกันอย่างไร

66. การโอนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนต้องทำอย่างไร

67. การเปิดเผยข้อมูลของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวิธี

มูลค่ายุติธรรมต้องมีอะไรบ้าง

68. การเปิดเผยข้อมูลของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวิธีราคาทุนต้องมีอะไรบ้าง

69. การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวิธีมูลค่ายุติธรรมต้องทำอย่างไร

70. การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวิธีราคาทุนต้องทำอย่างไร

71. การด้อยค่าของสินทรัพย์คืออะไร

72. การด้อยค่าของสินทรัพย์ มีแนวปฏิบัติอย่างไร

73. การระบุสินทรัพย์ที่อาจเกิดการด้อยค่าคืออะไร

74. การวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนมีหลักเกณฑ์อย่างไร

75. กรณีศึกษาการวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนมีหลักเกณฑ์อย่างไร

76. มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนการจำหน่าย

77. มูลค่าจากการใช้งาน

78. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของผลขาดทุนจากการด้อยค่ามีวิธีการอย่างไร

79. หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดและค่าความนิยม

80. การกำหนดหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

81. มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนและมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

82. ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

83. การกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์แต่ละรายการ

84. การกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

85. การกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยม

86. การด้อยค่าของสินทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

87. สัญญาเช่าตามมาตรฐานรายงานทางการเงินหมายความว่าอย่างไร

88. สัญญาเช่าการเงินคืออะไร

89. สัญญาเช่าดำเนินงานคืออะไร

90. การจำแนกประเภทของสัญญาเช่าต้องทำอย่างไร

91. กรณีศึกษาการรับรู้เริ่มแรกของสัญญาเช่าการเงินของผู้เช่าต้องทำอย่างไร

92. การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้เริ่มแรกของสัญญาเช่าการเงินของผู้เช่าต้องทำอย่างไร

93. สัญญาเช่าการเงินในงบการเงินของผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

94. สัญญาเช่าดำเนินงานในงบการเงินของผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

95. กรณีศึกษาการรับรู้เริ่มแรกสัญญาเช่าการเงินของผู้ให้เช่าต้องทำอย่างไร

96. การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้เริ่มแรกของสัญญาเช่าการเงินของผู้ให้เช่าต้องทำอย่างไร

97. สัญญาเช่าการเงินในงบการเงินของผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

98. สัญญาเช่าดำเนินงานในงบการเงินของผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง

99. การขายและเช่ากลับต้องทำอย่างไรบ้าง

100. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

Hours of CPD Hours of CPA
account other accountant other
6:0 0:0 6:0 0:0

Instructor

อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

Location

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
Phone :
02 656 0444
Website :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba