ภาระภาษีจากการจ้างพนักงาน การทำสัญญาจ้างแรงงาน สวัสดิการตามกฎหมายแรงงานฉบับใหม่ล่าสุดและประกันสังคม 2562

Course Code : 21/1222

Course Schedule

Course Price

Members Magazine : 4,280 Thai Baht ( Include VAT )
Non Members : 5,029 Thai Baht ( Include VAT )

Course Detail


ภาระภาษีจากการจ้างพนักงาน การทำสัญญาจ้างแรงงาน
สวัสดิการตามกฎหมายแรงงาน(ฉบับใหม่ล่าสุด)และประกันสังคม 2562


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

• ภาระภาษีจากการจ่ายค่าชดเชย, ค่าจ้างตามกฎหมายแรงงานใหม่ ที่ฝ่ายบัญชีและฝ่ายบุคคลต้องทราบ
และกรณีใดบ้างที่นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
• ปัญหาการจ่าย “ค่าจ้าง” การตีความตามกฎหมายแรงงานฉบับใหม่, ประกันสังคม, ป.พ.พ.และสรรพากร
• ปัญหาจ่ายเงินได้ 40(2)(6)(7)(8) ทำไมกลายเป็น 40(1) ต้องนำส่งประกันสังคม
• ปัญหาการจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทนต่างๆจากการทำสัญญาจ้างเหมา(Subcontract)
• เมื่อมีการผิดสัญญาจ้างแรงงานจะมีผลทางภาษีหรือไม่?
• จ้างคนต่างด้าวมาทำงานแต่ยังไม่ได้ Work permit จะมีผลทางภาษีเงินได้อย่างไร

วิทยากรโดย รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

หัวข้อสัมมนา

 

1. ความหมายของการจ้างแรงงาน
• กรณีมีสัญญาจ้าง
• กรณีไม่มีสัญญาจ้าง
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
• ประมวลรัษฎากร

2. ภาระภาษีจากการจ่ายค่าชดเชย, ค่าจ้างตามกฎหมายแรงงานใหม่ที่ฝ่ายบัญชีและฝ่ายบุคคลต้องทราบ
• กรณีลูกจ้างลาเพื่อคลอดบุตรไม่เกิน 98 วัน
• กรณีนายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างหรือไม่จ่ายค่าจ้าง
• กรณีทำงานล่วงเวลาหรือทำงานในวันหยุด
• กรณีนายจ้างผิดนัดไม่ชำระค่าชดเชย
• กรณีนายจ้างหยุดกิจการชั่วคราวหรือเลิกกิจการ

3. หลักเกณฑ์สำคัญของสัญญาจ้างแรงงาน
• ปัญหาการจ่าย “ค่าจ้าง” การตีความตามกฎหมายแรงงาน, ประกันสังคม, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
และสรรพากร
• ปัญหาจ่ายเงินได้ 40(2)(6)(7)(8) ทำไมกลายเป็น 40(1) ต้องนำส่งประกันสังคม
• แม่บ้านทำงานบ้านเป็นการจ้างงานประเภทใด อยู่ในบังคับกฎหมายแรงงานและประกันสังคมหรือไม่
• ปัญหาการจ้างพนักงานในกลุ่ม AEC ตามกฎหมายแรงงาน

4. จำเป็นหรือไม่ที่ต้องทำสัญญาจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร
• “โดยปริยายเป็นที่เข้าใจกันว่ามีการจ้างแรงงาน” มีลักษณะอย่างไร

5. ค่าจ้าง/สินจ้าง ถ้าจ่ายเป็นเงินหรือสิ่งของมีผลทางกฎหมายต่างกันหรือไม่
• ค่าจ้างตามหลักเกณฑ์ประกันสังคม - ค่าจ้างตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน - การหาฐานค่าจ้างเพื่อคำนวณ
เงินสมทบประกันสังคม
• ค่าจ้างตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) (2) (6) (7) (8) ข้อระวังจ้างอย่างไรกลายเป็น “ลูกจ้าง”
• จ้างบุคคลธรรมดาทำงานให้สามเดือนโดยอยู่ใต้บังคับบัญชาของนายจ้างเงินได้ถือเป็นเงินเดือนและต้องนำส่ง
ประกันสังคมหรือไม่

6. ข้อแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างเหมา/สัญญารับจ้าง
• การควบคุมบังคับบัญชา
• การกำหนดค่าตอบแทน
• การกำหนดทำงานการ
• การให้เงินเดือนค่าจ้างสวัสดิการและประโยชน์อื่นๆ

7. ลูกจ้างจากสัญญาจ้างเหมา (Subcontract)
• การจ่ายค่าจ้าง
• การจ่ายสวัสดิการ
• ลูกจ้างจะถือว่าเป็นลูกจ้างของบริษัท Subcontract หรือเป็นลูกจ้างของบริษัทที่จ้าง

8. เมื่อมีการผิดสัญญาจ้างแรงงานจะมีผลทางภาษีหรือไม่ อย่างไร

9. การเปลี่ยนตัวนายจ้างหรือลูกจ้างทำได้หรือไม่ ต้องคำนวณภาษีอย่างไร
• กรณีเปลี่ยนตัวนายจ้าง สิทธิความเป็นนายจ้างต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนหรือไม่
• หากลูกจ้างยินยอม สามารถนับอายุงานต่อเนื่องได้หรือไม่ ๐ หากลูกจ้างไม่ยินยอมจะถือเป็นการเลิกจ้างทันทีหรือไม่
• นายจ้างใหม่จำเป็นต้องรับสิทธิและหน้าที่อันเกี่ยวกับลูกจ้างหรือไม่
• กรณีใดถือเป็นการย้ายสถานประกอบกิจการของนายจ้างที่ลูกจ้างจะต้องได้รับเงินค่าชดเชย

10. เมื่อใดถือว่าสัญญาจ้างระงับสิ้นไป ภาระภาษีต่างกันอย่างไร
• เลิกจ้าง
• สิ้นสุดสัญญาจ้าง
• เกษียณอายุ
• ลาออก

11. คำพิพากษาศาลฎีกากรณีที่ถือว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงานและไม่เป็นสัญญาจ้างแรงงาน

12. ภาระภาษีที่เกี่ยวข้องกับสัญญาจ้างแรงงานและสัญญาจ้างเหมา
• ภาษีเงินได้
• ภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
• อากรแสตมป์

13. การเสียภาษีของลูกจ้างที่เป็นคนต่างด้าว และวิธีการคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
• จ้างคนต่างด้าวมาทำงานแต่ยังไม่ได้ Work permit จะมีผลทางภาษีเงินได้อย่างไร จะถือเป็น PE ของบริษัท
แม่ที่ต่างประเทศหรือไม่

14. ปัญหาภาษีที่เกี่ยวกับการให้สวัสดิการพนักงาน และประเด็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องระวัง
• การให้ของรางวัล, ทองคำหรือมอบโล่
• การให้เบี้ยเลี้ยงกับพนักงานทุกคน/ให้เฉพาะแผนกเซลล์/ให้เฉพาะกรรมการ มีผลทางภาษีต่างกันอย่างไร
และพนักงานต้องนำมาเป็นรายได้เพื่อเสียภาษีด้วยหรือไม่
• การให้เบี้ยเลี้ยงเป็นครั้งคราวกับการให้เบี้ยเลี้ยงแบบเหมาทั้งเดือน มีผลทางภาษีอย่างไร
• อัตราเบี้ยเลี้ยงที่กฎหมายยกเว้นเงินได้ให้ไม่เกินเท่าไหร่
• บริษัทจัดรถรับ-ส่งพนักงานอย่างไรไม่ถือเป็นเงินได้ที่ต้องหักภาษีพนักงาน
• การให้พนักงานได้อยู่บ้านฟรีหรือจ่ายค่าเช่าราคาถูกต้องหักภาษีพนักงานด้วยหรือไม่
• กรณีส่งพนักงานไปฝึกอบรมหรือศึกษาต่อต่างประเทศบริษัทลงรายจ่ายทางภาษี200% และพนักงานต้อง
ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยหรือไม่
• การทำประกันชีวิต/ประกันภัยกลุ่มให้พนักงาน ให้กรรมการหรือให้กับบุตร ให้กับคู่สมรสของพนักงานบริษัท
ต้องหักภาษีพนักงานหรือไม่
• กรณีบริษัทตั้งกองทุนให้พนักงานกู้ยืมเงินโดยไม่คิดดอกเบี้ยทำได้หรือไม่
• การคำนวณภาษีกรณีนายจ้างออกภาษีแทนลูกจ้าง
• ปัญหาเรื่องเครื่องแบบพนักงาน ตามความหมายของกรมสรรพากรต้องมีลักษณะอย่างไร
• ถ้าพนักงานมีสิทธิ์ซื้อหุ้นได้ในราคาต่ำกว่าราคาตลาดพนักงานต้องนำมาถือเป็นรายได้หรือไม่ ในบริษัท
หักภาษีอย่างไร

15. ปัญหาด้านรายจ่ายของกิจการ
• การให้โดยเสน่หา
• การให้แบบเหมาจ่าย
• การให้โดยมีระเบียบสวัสดิการ
• การให้ตามขนบธรรมเนียมประเพณี

16. คุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


Hours of CPD Hours of CPA
account other accountant other
0:0 6:0 0:0 6:0

Instructor

รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว

Location

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
Phone :
02 2305 6000
Website :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba