การตรวจสอบภาษีจากการรับ-โอนเงินเข้าบัญชี (e-Payment) Workshop การจัดทำบัญชี และรายงานรับ-จ่าย เพื่อพิสูจน์กับสรรพากร (หลักสูตรใหม่ปี 2562) (จ.พระนครศรีอยุธยา)

รหัสหลักสูตร : 21/1801/3

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



การตรวจสอบภาษีจากการรับ-โอนเงินเข้าบัญชี (e-Payment)
Workshop การจัดทำบัญชี และรายงานรับ-จ่าย
เพื่อพิสูจน์กับสรรพากร


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

พิเศษ!! เข้าอบรม 2 ท่าน ลดทันที 500 บาท

• ผลกระทบต่อบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ที่นักบัญชี การเงิน ต้องจัดทำเอกสารรับ-จ่ายรูปแบบใหม่
• การ Cross check ของสรรพากรจากการรับ-โอนเงิน vs การออกเอกสารรับ-จ่ายของกิจการ
• การออกใบกำกับภาษีอย่างไรให้ตรงตามจุด Tax Point เมื่อมีรายการโอนเงินเข้าบัญชีหลายยอดต่อวัน
• การเตรียมตัวเมื่อถูกเรียกตรวจสอบ พร้อมเทคนิคการจัดทำเอกสารให้สอดคล้องกับเอกสารรับ-โอนเงิน

วิทยากรโดย อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

หัวข้อสัมมนา

1. กฎหมาย e-Payment ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมสรุปสาระสำคัญ
- e-Tax invoice & e-Receipt
- e-Withholding Tax - e-Filing
- ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ

2. Update ความหมาย “ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ” ตามกฎหมาย e-Payment

3. กฎหมายฉบับนี้มีผลกระทบกับใครบ้าง บุคคลธรรมดา? นิติบุคคล? ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการรับ-โอนเงิน?

4. ผู้มีหน้าที่นำส่งข้อมูลให้สรรพากร ระยะเวลาที่เริ่มจัดเก็บ และนำส่งข้อมูล

5. เกณฑ์การพิจารณากลุ่มผู้เสียภาษีที่ต้องถูกตรวจสอบ และไม่ถูกตรวจสอบ
- ทำธุรกรรมรับ
- โอนเงินในบัญชี 3,000 ครั้ง หรือรวมทุกบัญชี 400 ครั้ง รวมเงินตั้งแต่ 2 ล้านบาท พิจารณาอย่างไร
- หากไม่เข้าเกณฑ์ที่ต้องถูกตรวจสอบ แต่ถูกสรรพากรเรียกตรวจสอบ ต้องเตรียมตัว และชี้แจงอย่างไร

6. ข้อมูลอื่นที่สรรพากรตรวจสอบได้ นอกจากการรับ-โอนเงินเข้าบัญชีของธนาคาร

7. แนวทางการเลือกรายในการตรวจสอบภาษีของสรรพากรจาก e-Payment

8. ผู้ค้าออนไลน์ต้องเตรียมตัวอย่างไร ไม่ให้ถูกสรรพากรตรวจสอบ

9. เปิดบัญชีเพื่อรับ – โอนเงินหลายบัญชี จะถูกนำมารวมนับด้วยหรือไม่

10.การจัดทำบัญชีรับ-จ่าย แยกบัญชีส่วนตัวกับบัญชีธุรกิจ สรรพากรจะเชื่อหรือไม่

11.การขายสินค้าไปต่างประเทศ เช่น ขายในอีเบย์ อยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับนี้หรือไม่

12.การฝากเงินสดเข้าในบัญชีจะนับรวมเป็นหนึ่งในจำนวนครั้งด้วยหรือไม่

13.การโอนเงินผ่าน Application ทางการเงิน เช่น Wallet เข้าข่ายหรือไม่

14.หากเข้าเกณฑ์ถูกตรวจสอบ จะโดนตรวจสอบย้อนหลังด้วยหรือไม่

15.กฎหมาย e-Payment กับผลกระทบต่อภาษีเงินได้บุคคคลธรรมดาและนิติบุคคลอย่างไร

16.เอกสารที่ต้องเตรียมให้พร้อมเมื่อเข้าเกณฑ์ต้องถูกส่งข้อมูลให้สรรพากร

17.กิจการขายสินค้า และบริการ ที่มีการชำระราคาค่าสินค้า หรือบริการผ่านระบบ Online ต้องจัดทำเอกสาร
การรับ – โอนเงินอย่างไร
- QR Code
- Pay in - Prompay
- บัตรเครดิต 
- Wallet

18.การรับรู้รายได้ (Tax Point) ของกิจการที่รับชำระค่าสินค้า หรือบริการผ่านช่องทางออนไลน์ ทั้งกรณีขายเอง
และ link ฝากขายในเว็บไซต์อื่น
- ปัญหาการตรวจสอบยอดเงินกับผู้โอนเพื่อออกใบเสร็จ หรือใบกำกับภาษี ออกเอกสารล่าช้ามีผลอย่างไร

19.ปัญหาเอกสารทางบัญชี การเงิน ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
- หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการนำส่งข้อมูลธุรกรรมทางการเงินให้กับสรรพากร
- การตรวจสอบการเสียภาษีประเภทอื่นที่เกี่ยวข้องของสรรพากร จากข้อมูลการรับเงินเข้าในบัญชี
- เอกสารรายรับ
- เอกสารรายจ่าย
- ใบรับ
- ใบสำคัญจ่าย
- ใบกำกับภาษี , ใบเพิ่มหนี้, ใบลดหนี้
- กิจการขายสินค้า และให้บริการ ควรออกแบบเอกสารอย่างไรให้สอดคล้องกับภาษีอากร

20.การหาข้อมูลในการตรวสอบของสรรพากรนอกจากการรับ-โอนเงิน
- ผู้ให้บริการขนส่ง
- ผู้ให้บริการแพ็คส่งสินค้า
- การทำเอกสารรายงานการรับ-จ่ายเงินเพื่อพิสูจน์่ต่อสรรพากร
- เอกสารที่ต้องจัดทำและจัดเก็บ
- วิธีการจัดเก็บ

21.ปัญหาและข้อควรระวังการจัดทำเอกสารการรับ-โอนเงิน ในระบบกฎหมาย e-Payment
- การจัดทำ และจัดเก็บเอกสารรับ-โอนเงินในบัญชี จากการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
- เทคนิคการจัดทำเอกสารรับ-โอนเงินในบัญชี ให้สามารถชี้แจงได้เมื่อถูกตรวจสอบ

22. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

โรงแรมกรุงศรี ริเวอร์ จ.อยุธยา
27/2 ม.11 ถ.โรจนะ ต.กระมัง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
โทรศัพท์ :
035 244-333
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba