เตรียมรับมือการตรวจสอบภาษีกรณีโอนทรัพย์สิน กำไร ระหว่างนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อหลีกเลี่ยงภาษี (Transfer Pricing)

รหัสหลักสูตร : 21/1532

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เตรียมรับมือการตรวจสอบภาษีกรณีโอนทรัพย์สิน กำไร ระหว่างนิติบุคคล
ที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อหลีกเลี่ยงภาษี (Transfer Pricing)


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

พิเศษ 2 ต่อ
1.ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านรับฟรี Dharmniti Planner 2019
2.เข้าอบรม ธ.ค. 2561 รับฟรีคูปองส่วนลด 1,000 บาท (สำหรับใช้เป็นส่วนลดอบรมเดือนม.ค.-ก.พ.
2562 และจองสัมมนาก่อน 31 ธ.ค. 2561)

 

• เตรียมรับมือ!! พ.ร.บ. สกัดการโอนทรัพย์สิน-กำไร เพื่อหลีกเลี่ยงภาษี
• ประเด็นที่กรมสรรพากรตรวจสอบเกี่ยวกับรายการTransfer Pricing
• บันทึกบัญชีอย่างไรให้ถูกต้องไม่ถูกสรรพากรประเมิน และการเตรียมความพร้อมทางเอกสารหลักฐาน
• การจัดทำรายงานธุรกรรมต่อกรมสรรพากรที่มีโทษปรับถึง 200,000 บาท

 

วิทยากรโดย อาจารย์ชัยรักษ์ ตระกูลมนตรี

หัวข้อสัมมนา

1. มาตรการป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษีอากรด้วยการถ่ายโอนกำไรระหว่างบริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน

2. ประเด็นที่สรรพากรใช้ตรวจสอบการครอบงำ หรือการควบคุมกันระหว่างบริษัทที่ไม่เป็นไป
ตามกลไกของตลาด

3. ประเด็นสำคัญที่สรรพากรใช้ตรวจสอบเพื่อป้องกันการถ่ายโอนกำไรระหว่างกลุ่มบริษัทที่มี
ความสัมพันธ์กัน มีอย่างไร

• ด้านทุน
• ด้านการจัดการ
• ด้านการควบคุม

4. การเพิ่มมาตรา 35 ตรี, 71 ทวิ, 71 ตรี มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของกิจการอย่างไร
• คำนิยามของ “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน”
• สัดส่วน และเงื่อนไขการถือหุ้น ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันตามกฎหมาย
• คำว่า “ไม่อาจดำเนินการโดยอิสระ” พิจารณาจากอะไร

5. การเตรียมความพร้อมของกิจการ ก่อนและภายหลังของการประกาศใช้กฎหมาย
(ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing)

• เอกสารที่ต้องจัดเตรียมเพื่อพิสูจน์ราคาตลาด
• เอกสารหรือหลักฐานต่อเจ้าพนักงานประเมิน
• ระยะเวลาที่กำหนดหรือยื่นรายงาน หรือเอกสารหรือหลักฐาน
• กรณีใดถือว่าแสดงข้อมูลไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยไม่มีเหตุอันสมควร
• ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกัน - มูลค่ารวมของธุรกรรมระหว่างกันในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี
• ข้อยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน

6. จุดเสี่ยง!! ถูกปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน
มีกรณีใดบ้าง

• การปรับปรุงรายได้และรายจ่ายมีผลกระทบต่อคู่สัญญาต่างประเทศหรือไม่ อย่างไร

7. กรณีถูกปรับปรุงรายได้และรายจ่ายสรรพากรจะใช้ฐานราคาใดคำนวณกำไรสุทธิที่ต้องเสียภาษีหรือ
เงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี

8. อำนาจเจ้าพนักงานประเมินขอเอกสารหรือหลักฐานแสดงข้อมูลภายใน 5 ปี

9. อายุความในการขอคืนภาษี กรณีที่เจ้าพนักงานประเมินใช้อำนาจปรับปรุงรายได้และรายจ่าย

10. กำหนดโทษปรับในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันมิได้ปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร

• จัดทำ หรือยื่นรายงานเอกสารหรือหลักฐานต่อเจ้าพนักงานประเมินเกินระยะเวลาที่กำหนด
• ยื่นรายงาน หรือเอกสารหรือหลักฐานโดยแสดงข้อมูลไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยไม่มีเหตุอันสมควร

11. Case studies กรณีที่สรรพากรมองว่าเป็นการ Transfer Pricing ระหว่างบริษัท

12. วิธีปฏิบัติและหลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีระหว่างกลุ่มบริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน

• วิธีการวัดมูลค่ายุติธรรม
• การรับรู้มูลค่ายุติธรรมเริ่มแรก
• รายการที่วัดมูลค่ายุติธรรม
• วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน
• การบันทึกบัญชีให้สอดคล้องกับรายงานที่ต้องยื่นต่อกรมสรรพากร

13. ปัญหาการบันทึกบัญชีระหว่างกลุ่มบริษัทที่มีความสัมพันธ์กัน
• การจ่ายค่าการตลาดแทน เงินปันผล ส่วนแบ่งกำไร
• การหักกลบลบหนี้ระหว่างกัน
• การส่งมอบสินค้า วัตถุดิบ หรือทรัพย์สิน แทนการชำระหนี้
• การแปลงทรัพย์สินเป็นทุนระหว่างบริษัท

14. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชัยรักษ์ ตระกูลมนตรี

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba