บริหาร จัดการ จัดตั้ง และหลักเกณฑ์สำคัญของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอย่างไร ให้ได้ประโยชน์สูงสุด***เลื่อนกรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่

รหัสหลักสูตร : 21/3441

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


บริหาร จัดการ จัดตั้ง และหลักเกณฑ์สำคัญ
ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอย่างไร ให้ได้ประโยชน์สูงสุด


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

 

 

• ก้าวทัน...การเปลี่ยนแปลงก่อนกฎหมายบังคับ
• วิเคราะห์เจาะลึกระเบียบวิธีปฏิบัติต่างๆ ซึ่งมีมากมาย และมีการซ่อนเงื่อนต่างๆ สําหรับนายจ้างลูกจ้างและ
ฝ่าย HR ต้องรู้
• การพ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้าง มีกรณีใดบ้าง สําหรับลูกจ้างที่เป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และจะ
ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง?
• เทคนิคการเลือกบริษัทจัดการหรือบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ) ที่เหมาะสมและเกิดประโยชน์
สูงสุดกับองค์กร
• การฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย “กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ” เมื่อไปผนวกกับกฎหมายแรงงานซึ่งมี
โทษทางแพ่งและทางอาญาด้วยแล้ว จะมีทางออกอย่างไรให้การจัดสวัสดิการ “กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ”
เป็นไปอย่างราบรื่น

 


วิทยากรโดย อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์

หัวข้อสัมมนา

พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
1. พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่ม เติมโดย พระราชบัญญัติกองทุน
สํารองเลี้ยงชีพฉบับที่ 4 (พ.ศ.2558) รวมถึงกฎกระทรวง หรือ ประกาศใดๆ ของทาง ราชการมีอะไรที่
เป็นผลกระทบสําคัญต่อนายจ้างและลูกจ้างบ้าง
2. นายจ้างต้องจัดให้มี “กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ” ในสถานประกอบ การหรือไม่กรณีไม่จัดให้มีกองทุน
สํารองเลี้ยงชีพ จะมีผลกระทบ อย่างไร บ้าง? ตามกฎหมายแรงงาน
• กองทุนสํารองเลี้ยงชีพเป็นสภาพการจ้างและถือเป็น “ข้อตกลงเกี่ยว กับสภาพการจ้าง” หรือไม่อย่างไร?
• คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ สามารถร้องขอให้ นายจ้างจัดกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
ให้พนักงานได้หรือไม่?
3. หลักการ แนวคิดของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตาม พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ฉบับล่าสุด!!
และวิเคราะห์ เจาะลึกระเบียบ วิธีปฏิบัติต่างๆ ซึ่งมีมากมาย สําหรับนายจ้างลูกจ้างและฝ่าย HR ต้องรู้
• อัตราการจ่าย “เงินสะสมของลูกจ้าง” มีอัตราเท่าไหร่และสูงสุดเท่า ไหร่
• อัตราการจ่าย “เงินสมทบของนายจ้าง” มีอัตราเท่าไหร่
• เงินสมทบของนายจ้าง สามารถต่ำกว่าเงินสะสมของลูกจ้างได้หรือไม่
• “กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ” ถือเป็นสวัสดิการประเภทใด ? ที่นายจ้างต้อง รับผิดชอบแต่ไม่ต้องบริหารเอง
คืออะไร?
4. ข้อบังคับและใจความสําคัญของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพควรจะ เขียนอย่างไร? ใครควรเป็นผู้เขียน?
และมีผลกระทบตามกฎหมาย อย่างไรบ้าง?
5. นายจ้างมีการจ่ายเงินเดือนให้กับลูกจ้างท ีเป็นสมาชิก ลูกจ้างต้อง จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุน โดยมี
ข้อตกลงให้หักจากเงินเดือน และ นายจ้างจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนให้ในอัตราเท่าใด และเงินเดือนที่
หักเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพคือ “ค่าจ้าง” ตามความหมายของ กฎหมายว่าด้วยแรงงานทุกฉบับหรือ
ไม่อย่างไร?
6. ลูกจ้างสิ้นสมาชิกภาพ (ไม่ใช่กองทุนเลิก) ผู้จัดการกองทุนต้องจ่าย เงินจากกองทุนให้ลูกจ้างตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการอย่างไร
• ลูกจ้างมีหนี้ค้างกับนายจ้างหรือเจ้าหนี้ภายนอก เจ้าหนี้จะยึดเงินที่ ลูกจ้างควรได้จากกองทุนสํารอง
เลี้ยงชีพได้หรือไม่
• ข้อควรระวัง...ของนายจ้าง กรณีลูกจ้างลาออกจากกองทุน แต่ไม่ได้ลา ออกจากงาน
7. ลูกจ้างสิ้นสภาพตามกฎหมาย มีกรณีใดบ้าง และลูกจ้างมีสิทธิอะไร บ้าง? จากกองทุนสํารอง
เลี้ยงชีพ สิทธิส่วนไหนได้และสิทธิส่วน ไหนไม่ได้
8. ลูกจ้างมีสิทธิคงเงินทั้งหมดที่มีสิทธิจะได้รับไว้ในกองทุน และคง การเป็นสมาชิกต่อไปได้โดยไม่
ต้องจ่ายเงินสะสม หรือเงินสมทบ ทั้งในส่วนของลูกจ้างและนายจ้างในกรณีที่ลูกจ้างพ้นสภาพจาก
การเป็นลูกจ้าง ทําได้แค่ไหน อย่างไร?

สิทธิประโยชน์ภาษี
1. เงินสะสมที่สมาชิกจ่ายเข้ากองทุนสามารถนําไปหักลดหย่อนภาษีได้ จํานวน เท่าไหร่ต่อปีสําหรับ
ส่วนที่เกินจากการนําไปลดหย่อนจะ ต้องไม่เกินจํานวนเท่าไหร่และทําอย่างไร?
2. เงินสมทบที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน ถือเป็นรายจ่ายในการคํา นวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีตามจํานวน
จ่ายจริงจะต้องนําไป คํานวณอย่างไร ?
3. ผลประโยชน์จากการลงทุนเมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ ส่วนที่เป็นเงิน สะสมได้รับ “ยกเว้นภาษี” สําหรับเงิน
สมทบ และผลประโยชน์เงิน สมทบ ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีมีเงื่อนไขอย่างไร?
• ลูกจ้างออกจากงานก่อนอายุครบ55ปี
• ลูกจ้างออกจากงาน ในกรณีอื่นๆ
4. สิทธิประโยชน์ทางภาษีลูกจ้างไม่ต้องจ่ายภาษีแม้แต่บาทเดียวใน กรณีใดบ้าง? ที่ได้รับเงินมาจาก
กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba