วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์
หัวข้อสัมมนา1. Update กฎหมายใหม่ที่มีผลกระทบในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.512. การเตรียมเอกสารทางบัญชีและประเด็นการตรวจสอบ Pre-Audit ก่อนยื่นภ.ง.ด.513.นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรที่ต้องยื่น ภ.ง.ด.51- ห้างหุ้นส่วนจำกัด- ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล- บริษัทจำกัด- บริษัทมหาชนจำกัด- กิจการร่วมค้า/กิจการค้าร่วม- มูลนิธิ สมาคม- บริษัทต่างประเทศที่เข้ามาประกอบกิจการในไทย- สถาบันการเงิน- กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน- ธุรกิจที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล4. กรณีใดบ้างที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.515. รอบระยะเวลาบัญชีมีผลกระทบการการยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 อย่างไร- กรณีรอบระยะเวลาบัญชีสุดท้ายไม่ครบ 12 เดือน ต้องยื่นภ.ง.ด.51 หรือไม่- รอบระยะเวลาบัญชีแรกไม่ครบ 12 เดือน ต่อมาเมื่อครบ 12 เดือนต้องนำรอบระยะเวลาบัญชีแรกมาประมาณการด้วยหรือไม่- กรณีเลิกกิจการหรือควบเข้ากันจะนับรอบระยะเวลาบัญชีอย่างไร และต้องยื่นภ.ง.ด.51 หรือไม่- แจ้งเลิกกิจการแต่ยังไม่ได้ชำระบัญชี- ขอเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีแต่ยังไม่ได้รับอนุมัติ- เปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีทำให้รอบไม่ครบ 12 เดือน6. เทคนิคการเปรียบเทียบการประมาณการจากกึ่งหนึ่งของภาษีปีก่อนหน้ากับการประมาณการขาดไม่เกิน 25% ของกำไรสุทธิ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการเสียภาษี- บริษัททั่วไปจะคำนวณจากรายได้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงได้หรือไม่7. ผลกระทบอัตราภาษีกับการประมาณการกำไรสุทธิ- บริษัททั่วไป- กิจการ SMEs- บริษัทในตลาดหลักทรัพย์- กิจการ BOI ที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี- กรณีกิจการมีรายได้เสียภาษีหลายอัตราและไม่สามารถแยกออกจากกันได้ต้องคำนวณอย่างไร8. สารพันปัญหาการคำนวณภาษีในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.519. ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่จะนำมาเครดิตในการคำนวณ ภ.ง.ด.51- มีวิธีการเครดิตอย่างไร- กรณียื่นเพิ่มเติมมีสิทธินำภาษีหัก ณ ที่จ่ายมาหักออกอีกได้หรือไม่10. “เหตุอันสมควร” ที่ไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม- แนวทางปฏิบัติกรมสรรพากรเรื่องพิจารณาเหตุอันสมควร- กรณีอย่างไรเรียกว่า “เหตุอันสมควร”- การอ้างถึงกำไรสุทธิของปีก่อนที่จะนำมาประมาณการในปีปัจจุบัน หมายถึงอย่างไร- กรณีประมาณการไว้ว่ารายได้ทั้งปีขาดทุนแต่สุดท้ายมีกำไรเนื่องจากมีคำสั่งซื้อโดยไม่คาดคิดจะถือว่าเป็นเหตุอันสมควรหรือไม่- การรับจ้างที่ค่าจ้างไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับเนื้องาน- อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาถือเป็นเหตุอันสมควรหรือไม่- กรณีประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกิน 25% เนื่องจาก 6 เดือนหลังบริษัทมีรายได้จากการขายทรัพย์สินของบริษัทถือว่ามีเหตุอันสมควรหรือไม่- กรณีอัตราภาษีของปีก่อนไม่เท่ากันกับปีที่ยื่น ภ.ง.ด.51 ต้องประมาณการอย่างไร11.ผลของการประมาณการกำไรสุทธิคลาดเคลื่อนไปเกิน 25% จะมีผลอย่างไร - ยื่นภ.ง.ด.51 ขาดหรือเกินไป จะมีเงินเพิ่มหรือไม่- วิธีการยื่นเพิ่มเติมของ ภ.ง.ด.51 ยื่นอย่างไร- ต้องกรอกรายการใหม่ทั้งหมดหรือไม่- การคำนวณเงินเพิ่มจะเริ่มนับจำนวนเดือนอย่างไร- การยื่นปรับปรุงแบบภ.ง.ด.51จะสามารถนำหัก ณ ที่จ่ายมาใช้ได้อีกหรือไม่- การคิดเงินเพิ่มคิดตั้งแต่บาทแรกที่คลาดคลื่อนหรือคิดจากส่วนต่างของ 25%12.การวางแผนการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ภ.ง.ด.51 อย่างไรไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม 13.การปรับปรุงและการชำระภาษีเพิ่มเติม กิจการต้องชำระเงินเพิ่มอย่างไร จะขอลดได้หรือไม่- ประมาณการภ.ง.ด.51 ขาดไปเกิน 25% ควรยื่นเพิ่มเติมเมื่อใด จึงจะเหมาะสม14. 10 Case ที่สรรพากรตรวจพบ จากการประมาณการขาดไปเกิน 25%