- ปัญหาการใช้ผลขาดทุนสุทธิ กรณีมี BOI หลายบัตรใช้อย่างไรตามแนวคำพิพากษาฎีกา
- ข้อควรระวัง เมื่อกิจการมีทั้ง BOI และ NON BOI การกรอกแบบ ภ.ง.ด.50, 51
บรรยายโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
- Update สิทธิประโยชน์ทางภาษี 2567 ของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
1.1 ภาษีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ BOI
1.2 การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
- รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีจากการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
- วันเริ่มมีรายได้ที่จะใช้สิทธิประโยชน์และได้รับยกเว้นภาษี
- การขายสินค้าตัวอย่างสินค้าทดลองผลิต
- การจำหน่ายผลพลอยได้และสินค้ากึ่งสำเร็จรูป
- การจำหน่ายเครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ที่หมดสภาพ ชำรุด เสียหาย
- ได้รับดอกเบี้ย เงินปันผลจากอัตราแลกเปลี่ยน
- รายได้จากการชดเชยภาษีอากร
- การขายเศษซาก ของเสีย ชำรุด เสียหาย
- การให้เช่า ซื้อขาย ที่ดินของกิจการที่ได้รับ BOI
- กิจการ BOI ที่มีรายได้มากกว่า 1 บัตร
- ประเด็นปัญหาทางด้านรายจ่ายของธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและกิจการมีทั้ง BOI และ Non BOI
- หลักเกณฑ์ในการหักค่าใช้จ่ายในการประกอบกิจการของธุรกิจที่ได้รับ BOI
* ค่าขนส่ง *ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา * ค่าติดตั้ง ก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก
- หลักเกณฑ์การแยกรายจ่ายของ BOI และ Non BOI
- กรณีแยกรายจ่ายไม่ได้จะต้องเฉลี่ยรายจ่ายโดยใช้หลักเกณฑ์ใด
- รถยนต์ต้องห้ามและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ต้องห้ามของกิจการ BOI และ Non BOI
* ค่าน้ำมัน *ค่าซ่อม
- รายจ่ายร่วมกันของทั้ง 2 กิจการ
- การคิดค่าเสื่อม ค่าสึกหรอของทรัพย์สินที่ใช้ร่วมกัน
- ปัญหาการจ่ายเงินปันผล เงินกำไร และการวางแผนให้สอดรับกับปัญหาในการจ่ายเงินปันผลอย่างตรงจุด
- การคำนวณจ่ายเงินปันผลและเงินกำไรจากกิจการ BOI และ Non BOI
- กรณีมีบัตรส่งเสริมหลายบัตรจะคำนวณจ่ายเงินปันผลอย่างไร
- ระยะเวลาในการจ่ายเงินปันผลที่จะไม่เสียภาษี
- ปัญหาภาษีการจ่ายเงินปันผลหลังจากบัตรส่งเสริมหมดอายุ
- เงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลจะได้ยกเว้นยกเว้นภาษีอย่างไร
- การจ่ายเงินปันผลปีสุดท้ายจะต้องจ่ายอย่างไร
- ดอกเบี้ยที่ได้รับยกเว้นภาษีของธุรกิจ BOI ต้องมีหลักเกณฑ์อย่างไร
- กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีจากการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI แล้วจะได้รับสิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อนอีกหรือไม่อย่างไร
- การนำผลขาดทุนสะสมมาหักในการคำนวณกำไรสุทธิหลังจากสิ้นสุดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนของธุรกิจที่ได้ BOI สรรพากรมีหลักเกณฑ์อย่างไร
- แนวคำพิพากษาฎีกาสำหรับปัญหาการใช้ผลขาดทุนสุทธิของกิจการ BOI กรณีมีหลายบัตรที่สรรพากรแพ้คดี
- กรณีมีบัตรส่งเสริมหลายใบจะใช้สิทธิอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างชัดเจน
- จุดที่ต้องระวังในการคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของธุรกิจที่ได้รับ BOI และ Non BOI
- การคำนวณกำไรสุทธิกรณีมีหลายบัตร
- กรณีได้รับค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งสิทธิ หรือสิทธิอย่างอื่นจากผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุน BOI ผู้รับต้องนำไปรวมคำนวณกำไรสุทธิหรือนำไปเสียภาษีสิ้นปีหรือไม่ มีหลักเกณฑ์อย่างไร
- ประเด็นปัญหาภาษีมูลค่าเพิ่มของกิจการที่ได้รับการส่งเสริม BOI และ Non BOI
- การเสียภาษีกรณีมีการจำหน่ายจ่ายโอนเครื่องจักร วัตถุดิบ วัสดุจำเป็น ก่อนครบกำหนดในบัตรส่งเสริมต้องเสีย VAT และเบี้ยปรับ เงินเพิ่มหรือไม่
- รายจ่ายและการขอภาษีซื้อของกิจการ BOI และ Non BOI ต้องแยกกันขอคืนภาษีซื้อหรือไม่ อย่างไร
- การออกใบกำกับภาษีและการขอคืนภาษีซื้อของกิจการ BOI และ Non BOI ต้องทำอย่างไร
- การเฉลี่ยรายจ่ายกับประเด็นการเฉลี่ยภาษีซื้อมีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ อย่างไร
- การหักภาษี ณ ที่จ่าย ของผู้ประกอบการที่ได้ BOI และกรณีที่ไม่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย
- เอกสารที่กิจการที่ได้รับ BOI ต้องแสดงต่อผู้จ่ายเงิน กรณีไม่ต้องการให้หัก ณ ที่จ่าย
- การกระทบยอด ภ.ง.ด.50 ภ.พ.30 และ ภ.ง.ด.53 ปัญหาที่ต้องระวัง
- วิธีการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50, 51 ของธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน BOI พร้อมชี้ประเด็นปัญหาที่พบบ่อยจากการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50
- Focus สิทธิประโยชน์ทางภาษีและข้อควรระวังด้านภาษีจากการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
เงื่อนไขการเข้าอบรม 1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User 2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที 3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน 4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand) หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม 5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม
หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี ** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **
|